การศึกษาแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในต่างประเทศ
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในต่างประเทศ
Data source cannot be displayed.
ที่มา : ชุดข้อมูลการศึกษาแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในต่างประเทศ โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
รายละเอียด | |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล | |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล | |
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด | |
รูปแบบ | |
ขนาดไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ |
Data Dictionary
ฟิลด์ | ประเภท | ป้ายกำกับ | รายละเอียด |
---|---|---|---|
{{field.id}} | {{field.type}} | {{field.info.label}} | {{field.info.notes}} |
ข้อมูลเมตา (Metadata)
หัวข้อภาษาอังกฤษ (Title) | The Study of Guideline to Promote the Social Development and Human Security Volunteer in foreign country |
หมวดหมู่ | การต่างประเทศ |
คำสำคัญ | ต่างประเทศ |
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ | 150101 |
องค์ประกอบ | 150101V01 |
ปัจจัย | 150101F0104 |
เป้าหมายระดับประเด็นของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ | 150001 |
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน | SDG1607 SDG1607 |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) | ข้อมูลจากอาสาสมัครพบว่ายังไม่พบสวัสดิการที่ได้รับในรูปแบบที่ชัดเจน ซึ่งอาสาสมัครเห็นว่าไม่ได้เป็นสาระสำคัญเพราะการทำงานด้วยความเต็มใจ และปรารถนาที่จะช่วยคนไทยที่พำนักอยู่ในต่างประเทศ แต่อย่างไรก็ตามพบว่าสิ่งที่ได้รับการตอบแทนจะเป็นเรื่องของสิทธิประโยชน์มากกว่า ซึ่งสามารถอธิบายได้เป็น 2 ด้าน คือ ความสะดวกในการติดต่อประสานงานขอความช่วยเหลือด้านต่างๆ จากหน่วยงานภายในประเทศนั้นๆ งานและรวดเร็วขึ้นและประโยชน์ในการรู้จักเครือข่ายการทำงานใหม่ๆเพิ่มเติม ซึ่งช่วยต่อยอดการทำงานอาสาสมัครและโอกาสอื่นๆในการทำงานที่กว้างขวางมากขึ้น การมีเครือข่ายที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ทำให้ความช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว การมีกฏหมายรองรับองค์กรอาสาสมัครทำให้การทำงานมีความสะดวก คุณลักษณะเฉพาะของคนไทยที่มีจิตสาธารณะและเอื้อเฟื้อต่อคนไทยด้วยกันเองที่ประสบปัญหา ความเข้าใจทางวัฒนธรรมของอาสาสมัคร และประสบการณ์เดิมจากการเป็นอาสาสมัครในหน่วยงานอื่น |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย | เพื่อศึกษารูปแบบกระบวนการทำงาน และพัฒนาแนวทางการส่งเสริมอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในต่างประเทศ ให้สามารถตอบสนองสถานการณ์และความต้องการของคนไทยในต่างประเทศ รวมถึงการพัฒนาสู่คู่มือการทำงาน เพื่อส่งเสริมให้คนไทยในต่างประเทศเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในการเป็นกลไกการขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับกลุ่มคนไทยในต่างประเทศตามบทบาทภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ |
พื้นที่เป้าหมาย | จังหวัดกรุงเทพมหานคร |
ระดับการเปิดเผยข้อมูล | สาธารณะ |
สัญญาอนุญาต (License) | Open Government |
นักวิจัย | นางเบญจวรรณ บุตรเพชรรัตน |
อีเมลนักวิจัย | csv.dsdw@dsdw.go.th |
สถานะของชุดข้อมูล | active |
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
สถิติจำนวนอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ทั่วประเทศ
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
สถิติการอบรมอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) เพื่อเป็นกลไกปฏิบัติงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ในระดับพื้นที่...
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Research project on “Social innovation on the Active Aging of the elderly in the area of responsibility of the Office of Academic Promotion and Support 4”, was created to study...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สถิติจำนวนอาสาสมัคร เครือข่าย และภาคประชาสังคม ที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ (คน)
- ปี 2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 890,609 คน
- ปี 2565 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,247,428 คน
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ