โครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
Data source cannot be displayed.
ที่มา : ชุดข้อมูลโครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
รายละเอียด | |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล | |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล | |
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด | |
รูปแบบ | |
ขนาดไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ |
Data Dictionary
ฟิลด์ | ประเภท | ป้ายกำกับ | รายละเอียด |
---|---|---|---|
{{field.id}} | {{field.type}} | {{field.info.label}} | {{field.info.notes}} |
ข้อมูลเมตา (Metadata)
หัวข้อภาษาอังกฤษ (Title) | strengthen participation in natural resource management project |
หมุดหมายที่เกี่ยวข้องหลัก | P1308 - ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน |
เป้าหมายระดับหมุดหมาย | P130803 - การพัฒนาเมืองให้มีความน่าอยู่อย่างยั่งยืน มีความพร้อมในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างทั่วถึง |
หมุดหมายสนับสนุน | P1311 - ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ประเด็นแผนแม่บทที่เกี่ยวข้อง | 060201 - เมืองมีระบบจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษที่มีประสิทธิภาพครอบคลุมและได้มาตรฐาน |
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน | SDG0603 - ปรับปรุงคุณภาพน้ำ โดยการลดมลพิษ ขจัดการทิ้งและลดการปล่อยสารเคมีอันตรายและวัตถุอันตราย ลดสัดส่วนน้ำเสียที่ไม่ผ่านการบำบัดลงครึ่งหนึ่ง และเพิ่มการนำกลับมาใช้ใหม่และการใช้ซ้ำที่ปลอดภัยทั่วโลกให้มากขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2573 |
หมวดหมู่ | พื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ |
คำสำคัญ | การบริหารจัดการเมือง สิ่งแวดล้อม |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าช้าง อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก |
พื้นที่เพิ่มเติมที่ดำเนินงาน |
|
หน่วยงานดำเนินการและภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง | ภาคประชาชน ภาครัฐในพื้นที่ ผูู้ประกอบการในพื้นที่ และสมาชิกเครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมจังหวัดนครนายก |
วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน | 1. เพื่อพัฒนาความรู้และศักยภาพของกลุ่มสมาชิกเครือข่ายฯ สู่นโยบายประเทศไทย 4.0 2. เพื่อสร้างความเข้าใจ การเรียนรู้ ระหว่างผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้องร่วมกันเชิงสร้างสรรค์และยั่งยืน 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน สถานประกอบการและส่วนราชการในการทำงานในรูปแบบ เครือข่ายการเฝ้าระวังการเกิดผลกระทบด้านมลพิษสิ่งแวดล้อม จากการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อลด ข้อร้องเรียนซ้ำซากจากปัญหาผลกระทบด้านมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม 4. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูล (Big Data) เครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมบนเว็บไซต์และระบบเชื่อมโยงการบูรณาการเครือข่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง |
รายละเอียดการดำเนินงาน | 1. สำรวจและกำหนดพื้นที่ในการดำเนินการและประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบ 2. จัดสัมมนาเพื่อเพิ่มองค์ความรู้ทางวิชาการด้านเครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ให้แก่สมาชิกเครือข่าย 3.จัดกิจกรรมเรียนรู้สร้างประสบการณ์ร่วมกันผ่านความร่วมมือกันระหว่างสมาชิกในเครือข่ายจนเกิดเป็นความรู้ ความตระหนักร่วมกันของกลุ่ม กับเครือข่ายอื่น 4. การบริหารและติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการเพื่อให้เป็นไปตามตัวชี้วัดโครงการ ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 1 ปี 1 ตุลาคม ๒๕๖5 - 30 กันยายน ๒๕๖6 งบประมาณในการดำเนินโครงการทั้งสิ้นจำนวน จำนวน 82,300 บาท (แปดหมื่นสองพันสามร้อยบาทถ้วน) ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เครือข่ายมีความตั้งใจและมุ่งมั่นที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งด้วยตนเองและ ด้วยความร่วมมือกับผู้อื่น 2. สร้างประสบการณ์ร่วมกันผ่านความร่วมมือกันระหว่างสมาชิกในเครือข่ายจนเกิดเป็นความรู้ ความตระหนักร่วมกันของกลุ่มเชื่อมโยงกับเครือข่ายในระดับภาค และเครือข่ายระดับประเทศ 3. ปลูกจิตสำนึก สร้างเจตคติ ค่านิยม ความรับผิดชอบในการให้ความร่วมมือป้องกัน แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ให้เกิดการรักษาและส่งเสริมการนำทรัพยากรธรรมชาติไปใช้อย่างชาญฉลาดและคุ้มค่ามากขึ้น |
ผลการดำเนินงาน | เมื่อวันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน 2565 สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครนายก ได้จัดกิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มองค์ความรู้ทางวิชาการด้านเครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ให้แก่สมาชิกเครือข่ายภายใต้โครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน ณ ห้องบุษราคัม อุ่นเรือนรีสอร์ท อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก และดำเนินกิจกรรม : การเรียนรู้สร้างประสบการณ์ในสถานประกอบการที่เป็นต้นแบบที่ดีด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างประสบการณ์ร่วมกันผ่านความร่วมมือระหว่างสมาชิกเครือข่าย สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครนายก ได้ดำเนินกิจกรรม : เรียนรู้สร้างประสบการณ์ในสถานประกอบการที่เป็นต้นแบบที่ดีด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างประสบการณ์ร่วมกันผ่านความร่วมมือระหว่างสมาชิกในเครือข่าย ระหว่างวันที่ 24 – 25 พฤศจิกายน 2565 ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2565 ณ บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท เบตเตอร์ เวสท์ แคร์ จำกัด โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน |
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ | [u'\u0e1e\u0e37\u0e49\u0e19\u0e17\u0e35\u0e48\u0e40\u0e1b\u0e49\u0e32\u0e2b\u0e21\u0e32\u0e22\u0e21\u0e35\u0e04\u0e27\u0e32\u0e21\u0e1e\u0e23\u0e49\u0e2d\u0e21\u0e17\u0e32\u0e07\u0e01\u0e32\u0e22\u0e20\u0e32\u0e1e \u0e40\u0e2b\u0e21\u0e32\u0e30\u0e2a\u0e21\u0e01\u0e31\u0e1a\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23', u'\u0e1c\u0e39\u0e49\u0e21\u0e35\u0e2a\u0e48\u0e27\u0e19\u0e44\u0e14\u0e49\u0e40\u0e2a\u0e35\u0e22\u0e21\u0e35\u0e2a\u0e48\u0e27\u0e19\u0e23\u0e48\u0e27\u0e21\u0e14\u0e33\u0e40\u0e19\u0e34\u0e19\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23', u'\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23\u0e21\u0e35\u0e17\u0e34\u0e28\u0e17\u0e32\u0e07\u0e41\u0e25\u0e30\u0e40\u0e1b\u0e49\u0e32\u0e2b\u0e21\u0e32\u0e22\u0e17\u0e35\u0e48\u0e0a\u0e31\u0e14\u0e40\u0e08\u0e19'] |
บทเรียนจากการดำเนินงาน | 1. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครนายก ควรดำเนินโครงการดังกล่าวให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เพื่อเป็นการเปิดเวทีให้สมาชิกเครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลแชร์ประสบการณ์ใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องระหว่างสมาชิกเครือข่ายภายในจังหวัดและภายนอกจังหวัด 2. ประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ภาคประชาสังคมได้ตระหนักถึงผลกระทบด้านมลพิษจากสถานประกอบการอุตสาหกรรมในพื้นที่ และสร้างเสริมองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังผลกระทบด้านมลพิษ สร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนร่วมแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากโรงงานและหน่วยงานภาครัฐ 3. ควรจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง สร้างระบบแรงจูงใจ สนับสนุนทรัพยากร และช่วยสร้างผู้นำรุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง |
ระดับการเปิดเผยข้อมูล | สาธารณะ |
ผู้จัดทำข้อมูล | กนกพิชญ์ ชูดี |
อีเมลผู้จัดทำข้อมูล | Kanokpit923@gmail.com |
สถานะของชุดข้อมูล | active |
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
Abstract
The research project on “Guidelines for strengthening social networks to support the work of Children and Youth Council to be strong in area of Nakhon Ratchasima...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานผลการดำเนินงานโครงการบริหารจัดการน้ำในภาวะวิกฤติและภาวะปกตินอกเขตชลประทานหรือในพื้นที่เกษตรน้ำฝน ปีงบประมาณ 2564 โดยส่วนบริหารจัดการน้ำ สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 5
กรมทรัพยากรน้ำ
สืบเนื่องจากการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเข้าถึงคุณค่า...
สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
โครงการวิจัย “การพัฒนาตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจ ที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)” (Research project development of...
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ