รายงานผลการศึกษาด้านการออกแบบและพัฒนาเรือนจำรูปแบบใหม่ในประเทศไทย

การศึกษาเรื่องนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพซึ่งประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการออกแบบเรือนจำ รวมถึงการใช้แบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้างแก่ผู้ปฏิบัติงานที่เรือนจำ ประกอบกับประเด็นสำคัญที่ได้จากการประชุมของคณะที่ปรึกษาและคณะทำงานเพื่อพัฒนาการออกแบบเรือนจำ นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านการราชทัณฑ์ ซึ่งเป็นผู้ทรงวุฒิที่มีความรู้ความสามารถเป็นที่ปรึกษาคณะทำงาน โดยผู้ศึกษาได้นำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์เนื้อหาและตีความข้อมูลออกมาเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาโดยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เรียบเรียงให้อยู่ในกรอบวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหาอุปสรรคและแนวทางการพัฒนาการออกแบบเรือนจำ นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านการราชทัณฑ์

องค์กร :
กรมราชทัณฑ์
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด :
29 พฤศจิกายน 2564
ข้อมูลเมตาและทรัพยากร

Openness


มุมมอง : {{field.title}}
ข้อมูลทั้งหมด รายการ
แสดงข้อมูลลำดับที่ ถึง
Data source cannot be displayed.
ที่มา : ชุดข้อมูลรายงานผลการศึกษาด้านการออกแบบและพัฒนาเรือนจำรูปแบบใหม่ในประเทศไทย โดยกรมราชทัณฑ์
รายละเอียด
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด
รูปแบบ
ขนาดไฟล์
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ Valid data
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ Valid data
Data Dictionary
ฟิลด์ ประเภท ป้ายกำกับ รายละเอียด
{{field.id}} {{field.type}} {{field.info.label}} {{field.info.notes}}
ข้อมูลเมตา (Metadata)
หัวข้อภาษาอังกฤษ (Title) Multifunction Prison
หมวดหมู่ ความมั่นคง
คำสำคัญ เรือนจำรูปแบบใหม่
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 220201
องค์ประกอบ 220201V03
ปัจจัย 220201F0301
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDG1601
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) “เรือนจำรูปแบบใหม่ (Multifunction Prison)” ซึ่งมีแนวคิดพื้นฐานสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และความต้องการในการใช้งานเรือนจำ ในปัจจุบันที่จะตอบสนองต่อภารกิจได้หลายประการ เช่น การรับตัวผู้ต้องขังเข้าใหม่จากศาล การควบคุมตามกำหนดโทษ การพัฒนาพฤตินิสัย และการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย อย่างไรก็ดี เรือนจำรูปแบบใหม่ จะมีความสามารถในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางกายภาพ ให้สามารถตอบสนองต่อภารกิจและนโยบายที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ด้านสุขอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในเรือนจำ และด้านการพัฒนาพฤตินิสัยเพื่อคืนคนดีสู่สังคม เป็นต้น
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย การศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้แนวทางในการปรับปรุงรูปแบบโครงสร้างเรือนจำที่เหมาะสม ตามทัศนะ ของผู้ปฏิบัติ และมาตรฐานสากลเพื่อพัฒนาแนวทางการออกแบบเรือนจำให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป
พื้นที่เป้าหมาย หมู่บ้านเรือนจำและทัณฑสถาน ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
ระดับการเปิดเผยข้อมูล สาธารณะ
สัญญาอนุญาต (License) Open Government
นักวิจัย กลุ่มงานพัฒนาระบบด้านทัณฑวิทยา กองทัณฑวิทยา กรมราชทัณฑ์
อีเมลนักวิจัย Thanthwithya@gmail.com
สถานะของชุดข้อมูล active
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
โครงการจัดสวัสดิการและสงเคราะห์ผู้ต้องขัง และขับเคลื่อนการดำเนินงานของเรือนจำ/ทัณฑสถาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (ฆณ1211 10 recent views
จัดสวัสดิการให้แก่ผู้ต้องขังกลุ่มพิเศษในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ต้องขังให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น...
กรมราชทัณฑ์
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ต้องขังเพื่อคืนคนดีสู่สังคม 19 recent views
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กรมราชทัณฑ์ ได้ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุน การจัดการศึกษา แก่ผู้ต้องขัง ทั้งในระบบนอกระบบหลากหลายรูปแบบทั้งในส่วนของการศึกษาสายสามัญ อาชีวศึกษา อุดมศึกษา...
กรมราชทัณฑ์
นายอำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี 5 recent views
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.