ขนาดตัวอักษร ภาษา
โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทราสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ (กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น (Upskill) และยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน)
โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทราสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ (กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น (Upskill) และยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน)

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยท้องถิ่น ซึ่งมีพันธกิจในการบริการวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่น โดยการน้อมนำหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งสอดคล้องกับพระราโชบายของรัชกาลที่ 10 มาขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ให้กับชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและผลิตภัณฑ์ชุมชน 7 หน่วยงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ประกอบด้วย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครุศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น และสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทราสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับวิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทรา และส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนของจังหวัดฉะเชิงเทราให้เป็นที่รู้จัก ให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ดีขึ้น ให้ชุมชนมีความเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน

องค์กร :
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด :
16 ธันวาคม 2567
ข้อมูลเมตาและทรัพยากร

Openness

0 out of 5
มุมมอง : {{field.title}}
ข้อมูลทั้งหมด รายการ
แสดงข้อมูลลำดับที่ ถึง
Data source cannot be displayed.
ที่มา : ชุดข้อมูลโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทราสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ (กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น (Upskill) และยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน) โดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
รายละเอียด
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด
รูปแบบ
ขนาดไฟล์
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ Valid data
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ Valid data
Data Dictionary
ฟิลด์ ประเภท ป้ายกำกับ รายละเอียด
{{field.id}} {{field.type}} {{field.info.label}} {{field.info.notes}}
ข้อมูลเมตา (Metadata)
หัวข้อภาษาอังกฤษ (Title) Enhancing the standards of Chachoengsao community products to online platforms
หมุดหมายที่เกี่ยวข้องหลัก P1307 - ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแข่งขันได้
เป้าหมายระดับหมุดหมาย P130703 - วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถเข้าถึงและได้รับการส่งเสริมอย่างมีประสิทธิผลจากภาครัฐ
หมวดหมู่ การเติบโตอย่างยั่งยืน
คำสำคัญ ผลิตภัณฑ์ชุมชน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
หน่วยงานดำเนินการและภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา 2. วิสาหกิจชุมชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา
วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน เพื่อยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทราสู่แพลตฟอร์มออนไลน์
รายละเอียดการดำเนินงาน 1. เป้าหมายของโครงการกระบวนการหรือวิธีการดำเนินงาน ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทราสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับวิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนฉะเชิงเทรา และส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนของจังหวัดฉะเชิงเทราให้เป็นที่รู้จัก ให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ดีขึ้น ให้ชุมชนมีความเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน 2. กิจกรรมภายใต้โครงการ พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีมาตรฐานและคุณภาพที่สูงขึ้น ภายใต้ 6 ประเด็นการพัฒนา ได้แก่ - นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ - พัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ - พัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิต - พัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน - การพัฒนาและออกแบบเทคโนโลยีการผลิต ในระดับภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีขั้นสูง - การพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบต้นน้ำ (พืช สัตว์ เศรษฐกิจตัวรอง และวัฒนธรรม) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (GPP) ข้อมูลรายได้ประชาชาติระดับจังหวัด
ผลการดำเนินงาน 1. จำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นจากนวัตกรรมองค์ความรู้ และภูมิปัญญาไทย ที่ยกระดับเศรษฐกิจชุมชน ฐานราก และขยายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ (นำผลิตภัณฑ์เดิมจากปี 66 มายกระดับ+ผลิตภัณฑ์ใหม่) 30 ผลิตภัณฑ์ 2. จำนวนองค์ความรู้ งานวิจัย นวัตกรรมที่ดำเนินการร่วมกับชุมชนเป็นฐานในการพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น 30 องค์ความรู้ 3.จำนวนอัตลักษณ์ของท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์และยกระดับ (อัตลักษณ์พืช สัตว์เศรษฐกิจตัวรอง วัฒนธรรม) 20 อัตลักษณ์ 4. จำนวนผู้ผลิตและผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีขีดความสามารถที่เพิ่มขึ้น 2 ประเด็นการพัฒนา 5. จำนวนนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช/สัตว์และวัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจ 20 นวัตกรรม 6. ร้อยละรายได้ของผู้ประกอบการที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 7. จำนวนศูนย์การเรียนรู้ยกระดับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้อื่นในท้องถิ่น จำนวน 1 ศูนย์ 8. ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นจากนวัตกรรมองค์ความรู้และภูมิปัญญาไทย ที่ยกระดับเศรษฐกิจชุมชน ฐานราก และขยายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์สร้างรายได้ให้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 9. เกิดศูนย์การเรียนรู้ยกระดับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้อื่นในท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน 1 ศูนย์ ซึ่งมาตรฐานที่ได้รับจากการพัฒนาและยกระดับมาตรฐายผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย มาตรฐานอาหารและยา (อย.) มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) และหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์; โอทอป (OTOP)
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ [u'\u0e1e\u0e37\u0e49\u0e19\u0e17\u0e35\u0e48\u0e40\u0e1b\u0e49\u0e32\u0e2b\u0e21\u0e32\u0e22\u0e21\u0e35\u0e04\u0e27\u0e32\u0e21\u0e1e\u0e23\u0e49\u0e2d\u0e21\u0e17\u0e32\u0e07\u0e01\u0e32\u0e22\u0e20\u0e32\u0e1e \u0e40\u0e2b\u0e21\u0e32\u0e30\u0e2a\u0e21\u0e01\u0e31\u0e1a\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23', u'\u0e1c\u0e39\u0e49\u0e21\u0e35\u0e2a\u0e48\u0e27\u0e19\u0e44\u0e14\u0e49\u0e40\u0e2a\u0e35\u0e22\u0e21\u0e35\u0e2a\u0e48\u0e27\u0e19\u0e23\u0e48\u0e27\u0e21\u0e14\u0e33\u0e40\u0e19\u0e34\u0e19\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23', u'\u0e21\u0e35\u0e07\u0e1a\u0e1b\u0e23\u0e30\u0e21\u0e32\u0e13\u0e43\u0e19\u0e01\u0e32\u0e23\u0e2a\u0e19\u0e31\u0e1a\u0e2a\u0e19\u0e38\u0e19\u0e01\u0e32\u0e23\u0e14\u0e33\u0e40\u0e19\u0e34\u0e19\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23']
บทเรียนจากการดำเนินงาน ควรมีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ระดับการเปิดเผยข้อมูล สาธารณะ
ผู้จัดทำข้อมูล นวรัตน์ ทัศนา
อีเมลผู้จัดทำข้อมูล nawarat.tas@rru.ac.th
สถานะของชุดข้อมูล active
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
โครงการพัฒนาคุณภาพกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมใน พื้นที่ตำบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา 7 recent views
การพัฒนาศักยภาพของชุมชนผ่านกลไกการพัฒนากลุ่มผู้ประกอบการ ซึ่งการพัฒนาในหลากหลายซึ่งแต่ละชุมชนความแตกต่างกันไปตามกลไกของกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย...
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และแบรนด์สินค้าชุมชน 7 recent views
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566 - 2570) กำหนดหมุดหมายการพัฒนา ซึ่งเป็นการบ่งบอกถึงสิ่งที่ประเทศไทยปรารถนาจะ “เป็น” หรือมุ่งหวังจะ “มี” เพื่อสะท้อน...
กรมการปกครอง
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกปลากะพงและตะกร้าสานจากเชือกสู่แพลตฟอร์มออนไลน์และ การขึ้นมาตรฐานสินค้านำไปสู่เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงคาร์บอนต่ำ เทศบาลตำบลบางสมัคร อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 10 recent views
ชุมชนมีความต้องการในการพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการเป็นผู้ประกอบการ พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรท้องถิ่น และกระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน...
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โครงการพัฒนายกระดับการผลิตผ้าไหมสู่สากล 9 recent views
หลักการและเหตุผล 1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เป็นยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย...
กระทรวงอุตสาหกรรม
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.