ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์ เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์ เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช
Data source cannot be displayed.
ที่มา : ชุดข้อมูลศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์ เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายละเอียด | |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล | |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล | |
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด | |
รูปแบบ | |
ขนาดไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ |
Data Dictionary
ฟิลด์ | ประเภท | ป้ายกำกับ | รายละเอียด |
---|---|---|---|
{{field.id}} | {{field.type}} | {{field.info.label}} | {{field.info.notes}} |
ข้อมูลเมตา (Metadata)
หัวข้อภาษาอังกฤษ (Title) | Center of Excellence in Digital and AI Innovation for Mental Health |
หมุดหมายที่เกี่ยวข้องหลัก | P1304 - ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง |
เป้าหมายระดับหมุดหมาย | P130402 - องค์ความรู้ด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีศักยภาพเอื้อต่อการสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าและบริการทางสุขภาพ |
หมวดหมู่ | การส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลวังใหม่ อำเภอปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร |
หน่วยงานดำเนินการและภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง | สสส |
วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน | การพัฒนาบริการด้านจิตเวชจากนวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์จะช่วยแก้ไขปัญหาการเข้าถึงความช่วยเหลือด้านจิตเวชของคนไทย และดูแลเชิงรุกได้ไม่น้อยกว่า ห้าแสนคน ในระยะเวลา 4 ปี |
รายละเอียดการดำเนินงาน | โครงการพัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพจิตและป้องกัน ภาวะซึมเศร้าด้วยการพัฒนาระบบ D mind (Promotion and prevention of depression by developing system D mind for depression) สำหรับประชากรชาวไทยที่ใช้ตรวจสุขภาพ ในผ่านแอพพิเคชั่น D mind ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระยะเวลาการดำเนินโครง การตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมไตรมาส4เดือน ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567 (3 เดือน) ดังนี้. - กิจกรรมการประชุม DMIND Weekly ทุกสัปดาห์ เวลา 15.00 – 18.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom จำนวน 12 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 8 คน/ครั้ง - กิจกรรมการประชุม DMIND IVR ทุกสัปดาห์ๆละสองครั้ง จำนวน 24 ครั้ง -ผู้เข้าร่วม 12 คน - การประชุมเชื่อมระบบ DMIND กับกองทัพเรือ เกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 6 ครั้ง ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 6 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 8 คน/ครั้ง - การประชุม DMIND Monthry ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ 100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 3 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 8 คน/ครั้ง - การประชุมโครงการพัฒนาสุขภาพจิต Application Dmind ร่วมกับ นาวิกโยธิน (ฝ่ายพยาบาล กองทัพเรือ) ในการทำงานร่วมกับ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5.2 โครงการพัฒนาแบบคัดกรองสุขภาพสมองด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์ (Automatic MoCA) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรม ไตรมาส 4 ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567(3 เดือน) ดังนี้. - การจัดประชุม Application Braindi (Auto MoCA Meeting) ทุกวันจันทร์ เวลา 19.00 – 20.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom จำนวน 9 ครั้ง และ วันอื่นๆที่คณะทำงานสะดวก จำนวน 4 ครั้ง ผู้เข้าร่วม จำนวน 11 คน/ครั้ง - การจัดประชุม MoCA Monthry ทุกวันพุธต้นเดือน เวลา 15.30 – 18.00 น. ณ อาคารวิศวฯ 100 ปี ชั้น 7 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 3 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 14 คน/ครั้ง - การจัดประชุมออนไลน์ของคณะทำงาน Application Braindi (Auto MoCA Meeting) ร่วมกับ โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณ ปิยมหาราชการุณย์ เพื่อหารือแนวทางการทำงานร่วมกัน จำนวน 13 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 5 คน/ครั้ง 5.3โครงการพัฒนาแบบทดสอบทางประสาทจิตวิทยารูปแบบอุปกรณ์โมไบล์ สำหรับคนไทย (The Development of Mobile Device Version of Neuropsychological Battery) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมไตรมาส 4 ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567(3 เดือน) ดังนี้. - การจัดประชุมคณะทำงาน Application C2Fit Meeting เพื่อหารือการออกแบบนวัตกรรม ระหว่างอาจารย์คณะแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับนักพัฒนานวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 19.15 – 21.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom จำนวน 13 ครั้ง / 3 เดือน ผู้เข้าร่วม 7 คน/ครั้ง - การจัดประชุมคณะทำงาน Application C2Fit Meeting เพื่อหารือการออกแบบนวัตกรรม ระหว่างอาจารย์คณะแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับนักพัฒนานวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 19.15 – 21.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom จำนวน 13 ครั้ง ผู้เข้าร่วม จำนวน 7 คน/ครั้ง 5.4โครงการการศึกษาดัชนีชี้วัดทางชีวภาพที่สำคัญในการเปลี่ยนแปลงจากโรคความรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยไปสู่ภาวะสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ เพื่อสร้างแบบจำลองการคำนวณ สำหรับการแพทย์แบบเจาะจง (Computation Model of Alzheimer’s Disease Biomarkers for Precision Medicine) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรม ไตรมาส 4 ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567 (3 เดือน)ดังนี้. - การประชุม Biomarkers Weekly สัปดาห์ละหนึ่งครั้ง จำนวน 5 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 5 คน ผ่านโปรแกรม Zoom - การประชุม Biomarkers Monthly สัปดาห์ละหนึ่งครั้ง จำนวน 3 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 5 คน ณ อาคารวิศวฯ 100 ปี ชั้น 7 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5.5โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม ดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมไตรมาส 4ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567 (3 เดือน) ดังนี้. - การประชุมเพื่อผลัดดันนวัตกรรม Squad project manager เวลา 09.00 – 12.00 น. จำนวน 13 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 10 คน/ครั้ง และ การประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์ เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช (AIMET) จำนวน 13 ครั้ง ทุกวันศุกร์ เวลา 13.00 – 17.00 น. ผู้เข้าร่วม 25 คน/ครั้ง ระหว่างเดือนมกราคม 2567 – เดือนมีนาคม 2567 (3 เดือน) ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการภาพรวมของศูนย์ความ เป็นเลิศ ด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช (AIMET Monthly) ทุกวันศุกร์สุดท้าย ของเดือนนั้นๆ จำนวน 3 ครั้ง ผู้เข้าร่วม จำนวน 20 คน/ครั้ง - การประชุมนำเสนอผลงานบุคลากร (Capstone) รุ่นที่ 2 (สิ้นสุดการฝึกอบรม/พัฒนา) เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2567 ณ ชั้น 17 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เข้าร่วม 25 คน/ครั้ง จำนวน 1 ครั้ง - การประชุม Digital Marketing Team ทุกวันอังคาร เวลา 10:00 น. - 11:00 น. ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ 100 ปี ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เข้าร่วม 4 คน /ครั้ง จำนวน 13 ครั้ง - การประชุม Digital Marketing Monthly ทุกสิ้นเดือน ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ100 ปี ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผ่านโปรแกรม Zoom ผู้เข้าร่วม 5 คน/ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง 5.6 โครงการพัฒนาอุปกรณ์การฝึกสมองและร่างกายแบบ Real – time interactive simultaneous intervention ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมไตรมาส 4 ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567(3 เดือน) ดังนี้. - การประชุม Real – time interactive simultaneous intervention Weekly ประชุมสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง เกิดการประชุม จำนวน 13 ครั้ง ณ อาคารวิศวฯ 100 ปี ชั้น 7 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การประชุม Real – time interactive simultaneous intervention Monthry เดือนละหนึ่งครั้ง จำนวน 3 ครั้ง ณ อาคารวิศวฯ 100 ปี ชั้น 7 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5.7 โครงการพัฒนา Sleep App รูปแบบโมไบล์สำหรับคนไทย ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมไตรมาส 4 ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567(3 เดือน) ดังนี้. - การประชุม Sleep App Weekly สัปดาห์ละสองครั้ง จำนวน 26 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 4 คน/ครั้ง ผ่านโปรแกรม Zoom - การประชุม Sleep App Monthry ประชุมเดือนละหนึ่งครั้ง จำนวน 3 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 5 คน/ครั้ง ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ 100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5.8โครงการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์เพื่อช่วยบำบัดความคิด และพฤติกรรม ในการรักษาผู้ป่วยซึมเศร้า Development of Computerizen and Artifical Intelligence assisted Cognitive Behavior Therapy for Depression (Chula Bot Tech assisted CBT: CBT@CBT) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมไตรมาส 4 ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567(3 เดือน) ดังนี้. - การจัดประชุมออนไลน์ Chula Bot CBT Weekly เพื่อหารือแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช (AIMET) และคณะแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญด้าน Cognitive Behavior Therapy (CBT Learning Meeting) เดือนละสองครั้ง จำนวน 6 ครั้ง ผู้เข้าร่วม จำนวน 5 คน/ครั้ง - การประชุม Chula Bot Tech assisted CBT Monthly ที่รวบรวมคณาจารย์ทางการแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญ Cognitive Behavioral Therapy (CBT) เป็นการทำจิตบำบัดด้วยการพูดคุยกับนักจิตบำบัด หรือแพทย์เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความคิด ความเชื่อ หรือการรับรู้ของผู้ป่วยที่อาจผิดเพี้ยนไปจากความจริงมีเป้าหมายเพื่อจัดการสภาวะอารมณ์และกระบวนการคิดที่เป็นปัญหา ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยให้กลับมาเป็นปกติ ทุกทุก 3 เดือน จำนวน 1 ครั้ง ณ อาคารวิศวฯ 100 ปี ชั้น 7 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวนผู้เข้าร่วม 10 คน 5.9โครงการพัฒนาระบบคลังข้อมูลแบบผสมสำหรับการจัดการสุขภาพจิตและจัดการระบบปัญญาประดิษฐ์ (Data Lakehouse for mental health data machine learning development) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567 (12 เดือน) ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมไตรมาส 4 ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2567(3 เดือน) ดังนี้. - การประชุมประจำสัปดาห์ของทีม Data ทุกวันจันทร์ เวลา 13.00 – 14.00 น. จำนวน 9 ครั้ง และวันอื่นๆที่คณะทำงานสะดวกในการเข้าร่วม จำนวน 4 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 6 คน/ครั้ง - การประชุมติดตามความคืบหน้าโปรเจคด้าน Data (full-time) ทุกวันจันทร์ เวลา 16.00 – 17.00 น. จำนวน 9 ครั้ง และวันอื่นๆที่คณะทำงานสะดวกในการเข้าร่วม จำนวน 4 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 6 คน/ครั้ง - การประชุมเทคนิคด้านการพัฒนาและติดตั้งระบบปัญญาประดิษฐ์ ทุกวันจันทร์ 17.00 - 18.00 น. จำนวน 9 ครั้ง และวันอื่นๆที่คณะทำงานสะดวกในการเข้าร่วม จำนวน 4 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 8 คน/ครั้ง - การประชุมปรึกษาเทคนิคด้านการพัฒนาโมเดลปัญญาประดิษฐ์ ทุกวันพุธ เวลา จำนวน 11 ครั้ง และวันอื่นๆที่คณะทำงานสะดวกในการเข้าร่วม จำนวน 2 ครั้ง 10.00 – 12.00 น. ผู้เข้าร่วม 6 คน/ครั้ง - การประชุมทบทวนเทคนิคการพัฒนาติดตั้งระบบแอพพลิเคชัน ทุกวันพฤหัสบดี 16.00 -17.00 น. จำนวน 13 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 13 คน/ครั้ง - การประชุมเทคนิคด้านการพัฒนา ติดตั้งระบบปัญญาประดิษฐ์ ทุกวันศุกร์ เวลา 16.00 - 17.00 น.จำนวน 13 ครั้ง ผู้เข้าร่วม 8 คน/ครั้ง - การประชุมติดตามความคืบหน้าของโปรเจคด้าน Data (part-time) ทุกวันศุกร์ จำนวน 13 ครั้งผู้เข้าร่วม 7 คน/ครั้ง 5.10โครงการเช่าโปรแกรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ มกราคม 2567 - กันยายน 2567 (8 เดือน) เพื่อสนับสนุนการทำงาน และอำนวยความสะดวกแก่บุคลากรให้สามารถดำเนินงานได้สำเร็จตามเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัดของศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช 5.11 โครงการค้นคว้าแนวทางการตลาดของนวัตกรรม Auto Thai MoCA ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดำเนินโครงการ มกราคม 2567 - กันยายน 2567 (8 เดือน) - การจัดประชุมค้นคว้าแนวทางการตลาดของนวัตกรรม Auto Thai MoCA Weekly รูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom จำนวน 13 ครั้ง - การประชุมค้นคว้าแนวทางการตลาดของนวัตกรรม Auto Thai MoCA Monthly ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ 100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 3 ครั้ง 5.12โครงการพัฒนาระบบวิเคราะห์ปัญหาและข้อมูลเชิงลึกสำหรับ บริการดิจิทัลเพื่อการแพทย์ ด้านจิตเวช ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลา การดำเนินโครงการ 15 มีนาคม 2567 - กันยายน 2567 (6 เดือนครึ่ง) -การประชุมทีมนักพัฒนาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกการจัดประชุมวิเคราะห์ปัญหาและข้อมูลเชิงลึกสำหรับบริการดิจิทัลเพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 10.00 – 17.00 น. โดยทีมออกแบบงาน เพื่อมอบหมายงาน และติดตามผลลัพธ์การทำงาน -การจัดประชุมวิเคราะห์ปัญหาและข้อมูลเชิงลึกสำหรับบริการดิจิทัลเพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช ประจำ Weekly รูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom (สรุปงานประจำสัปดาห์) -การจัดประชุมวิเคราะห์ปัญหาและข้อมูลเชิงลึกสำหรับบริการดิจิทัลเพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช ประจำ Monthly ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ 100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สรุปงานประจำเดือน และพัฒนางาน) 5.13โครงการการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับแชทบอทสนับสนุนด้านสุขภาพจิตโดยใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่ (A preliminary study of mental health support chatbot using Large Language Models) ระยะเวลาการดำเนินโครงการ วันที่ 1 มิถุนายน - กันยายน 2567 (4 เดือน) -การจัดประชุมหารือแนวทางเกี่ยวกับแชทบอทสนับสนุนด้านสุขภาพจิตโดยใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่ ประจำ Weekly รูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom (สรุปงานประจำสัปดาห์) -การจัดประชุมหารือแนวทางเกี่ยวกับแชทบอทสนับสนุนด้านสุขภาพจิตโดยใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่ ประจำ Monthly ณ ชั้น 7 อาคารวิศวฯ 100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สรุปงานประจำเดือน และพัฒนางาน) |
ผลการดำเนินงาน | ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวชต้องการแก้ไขปัญหาปัญหาการ เข้าถึงระบบบริการสุขภาพจิตของประชาชนคนไทย ตามที่ ‘องค์การอนามัยโลก (WHO)’ ได้จัดทำ รายงานข้อมูลสถิติสุขภาพจิต พบว่า ทุกๆ 8 คนของประชากรบนโลกนี้จะมี 1 คน ที่ต้องเผชิญ ปัญหาสุขภาพจิต และ 71 เปอร์เซ็นต์ ของผู้ป่วยสุขภาพจิตเข้าไม่ถึง ระบบบริการด้านสุขภาพจิต ขณะที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ของเรายังพบว่า ประเทศไทยมีความชุกของผู้ป่วยสุขภาพจิตในประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความผิดปกติทางจิตประสาทและอารมณ์ โรคทางระบบประสาท การใช้สารเสพติด และการทำร้ายร่างกายติด 1 ใน 3 อันดับแรก ในปีงบประมาณ 2566 จากระบบคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ภายใต้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง พบว่า “กรุงเทพฯ” ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย แต่กลับพบว่าผู้ป่วยซึมเศร้า เข้าถึงระบบบริการได้น้อย จากการรวบรวมข้อมูลของ ‘ระบบคลังข้อมูลสุขภาพ’ Health Data Center (HDC) ซึ่งรวบรวมข้อมูลสาธารณสุขพบว่าร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ในปีงบประมาณ 2567 ช่วงเดือนวันที่ 1 มิถุนายน 2567 โดยคิดจากประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปในปีที่ใช้คำนวณทั้งสิ้น 50,748,905 คน มีจำนวนผู้ป่วยคาดประมาณจากความชุกที่ได้จากการสำรวจมากถึง 1,370,220 คน ยิ่งเมืองใหญ่ อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษา น้อยกว่าเป้าหมายร้อยละ 80 ตามที่กระทรวงสาธารณสุขตั้งไว้ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากจำนวนบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่เพียงพอ และทรัพยากรสาธารณสุขยังคงมีไม่เพียงพอ อาจกลายเป็นโจทย์ใหญ่ของภาครัฐที่ต้องหาทางแก้ไขปัญหาในอนาคต ทำให้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์เพื่อการแพทย์ด้านจิตเวช ภาควิชาวิศวกรรมทคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโจทย์ปัญหาดังกล่าวมาพัฒนาเป็นโจทย์วิจัยในการพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ |
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ | [u'\u0e2b\u0e19\u0e48\u0e27\u0e22\u0e07\u0e32\u0e19\u0e20\u0e32\u0e04\u0e23\u0e31\u0e10\u0e43\u0e2b\u0e49\u0e01\u0e32\u0e23\u0e2a\u0e19\u0e31\u0e1a\u0e2a\u0e19\u0e38\u0e19\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23', u'\u0e21\u0e35\u0e40\u0e17\u0e04\u0e42\u0e19\u0e42\u0e25\u0e22\u0e35 \u0e19\u0e27\u0e31\u0e15\u0e01\u0e23\u0e23\u0e21 \u0e2b\u0e23\u0e37\u0e2d\u0e10\u0e32\u0e19\u0e02\u0e49\u0e2d\u0e21\u0e39\u0e25\u0e17\u0e35\u0e48\u0e2a\u0e32\u0e21\u0e32\u0e23\u0e16\u0e2a\u0e19\u0e31\u0e1a\u0e2a\u0e19\u0e38\u0e19\u0e01\u0e32\u0e23\u0e14\u0e33\u0e40\u0e19\u0e34\u0e19\u0e07\u0e32\u0e19', u'\u0e21\u0e35\u0e07\u0e1a\u0e1b\u0e23\u0e30\u0e21\u0e32\u0e13\u0e43\u0e19\u0e01\u0e32\u0e23\u0e2a\u0e19\u0e31\u0e1a\u0e2a\u0e19\u0e38\u0e19\u0e01\u0e32\u0e23\u0e14\u0e33\u0e40\u0e19\u0e34\u0e19\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23'] |
ระดับการเปิดเผยข้อมูล | สาธารณะ |
ผู้จัดทำข้อมูล | ดลยา บุญธรรม |
อีเมลผู้จัดทำข้อมูล | donlaya.b@chula.ac.th |
สถานะของชุดข้อมูล | active |
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
Research project on “Social innovation on the Active Aging of the elderly in the area of responsibility of the Office of Academic Promotion and Support 4”, was created to study...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
The research project on “Guidelines for improving the quality of life for the elderly in the local area by using the elderly school as a base” in the responsible areas of...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กรมราชทัณฑ์ ได้มีนโยบายให้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการมีงานทำ (CARE : Center for Assistance to Reintegration and Employment)...
กรมราชทัณฑ์
การดำเนินการแก้ไขพัฒนาจิตใจเพื่อคืนคนดี มีคุณค่าสู่สังคม ทั้งในด้านการจัดการศึกษา การพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย และจิตใจ การฝึกวิชาชีพ...
กรมราชทัณฑ์