ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของข้าราชการ กรมราชทัณฑ์
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของข้าราชการ กรมราชทัณฑ์
Data source cannot be displayed.
ที่มา : ชุดข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของข้าราชการ กรมราชทัณฑ์ โดยกรมราชทัณฑ์
รายละเอียด | |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล | |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล | |
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด | |
รูปแบบ | |
ขนาดไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ | |
การตรวจสอบคุณภาพไฟล์ |
Data Dictionary
ฟิลด์ | ประเภท | ป้ายกำกับ | รายละเอียด |
---|---|---|---|
{{field.id}} | {{field.type}} | {{field.info.label}} | {{field.info.notes}} |
ข้อมูลเมตา (Metadata)
หัวข้อภาษาอังกฤษ (Title) | - |
หมวดหมู่ | การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ |
คำสำคัญ | ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของข้าราชการ |
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ | 200501 |
องค์ประกอบ | 200501V04 |
ปัจจัย | 200501F0401 |
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน | SDG1606 |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) | เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมราชทัณฑ์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ในการปฏิบัติงานราชทัณฑ์อย่างมืออาชีพโดยยึดมั่นในกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ รวมถึง เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่พึงได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีรวมทั้งผลตอบแทนที่เหมาะสม สามารถตอบสนองการให้บริการแก่ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส สอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (หลัก) ประเด็นที่ 22 กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ซึ่งมีเป้าหมายในการอำนวยความยุติธรรมเป็นไปด้วยความเสมอภาค โปร่งใส เป็นธรรม ทั่วถึง และปราศจากการเลือกปฏิบัติ และประเด็น (รอง) ประเด็นที่ 20 การบริการประชาชน และประสิทธิภาพภาครัฐ มีเป้าหมายในการบริการของรัฐที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บริการ ตลอดจนภาครัฐมีการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาประยุต์ใช้ |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย | เพื่อให้ข้าราชการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพอันจะส่งผลต่อการขับเคลื่อนภารกิจของกรมราชทัณฑ์ให้ประสบความสำเร็จ จึงควรศึกษาถึงปัจจัยอื่นๆ นอกเหนือจากประเด็นขาดแคลนอัตรากำลัง อาทิ ปัจจัยส่วนบุคคลของข้าราชการ ผลสัมฤทธิ์การพัฒนามาตรฐานคุณภาพชีวิตเจ้าหน้าที่ 8 ด้าน สำรวจแนวทางการจัดสวัสดิการใหม่ๆ สำรวจแนวทางใหม่ๆ ในการจัดเวรรักษาการณ์ของเรือนจำที่สามารถลดความตรากตรำได้ หรือสำรวจข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการจะส่งเสริมให้ข้าราชการกรมราชทัณฑ์มีคุณภาพชีวิต การทำงานที่ดียิ่งขึ้น เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อนำผลลัพธ์ของการศึกษามาวิเคราะห์ในเชิงสถิติ นำข้อมูลและข้อเสนอแนะที่ได้รับมาสังเคราะห์เป็นแนวทางในบริบทของการสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ นอกจากนี้การดำเนินโครงการศึกษาฯ ยังสอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ที่กำหนดให้การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า โดยให้ข้าราชการปฏิบัติราชการอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี |
ระดับการเปิดเผยข้อมูล | สาธารณะ |
สัญญาอนุญาต (License) | Open Government |
นักวิจัย | กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมราชทัณฑ์ |
อีเมลนักวิจัย | hr_correct@hotmail.com |
สถานะของชุดข้อมูล | active |
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ผลการประเมินจะเป็นการนำเสนอตามคำถามหลักในการประเมินตามกรอบแนวคิดในการประเมินผล
ซึ่งจาแนกได้เป็น 10 ประเด็นดังนี้
1. การประเมินบริบทและสถานการณ์ที่แผนงานโครงการต้องตอบสนอง
2....
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
รายงานการประเมินผลการดำเนินงานของกรมกิจการเด็กและเยาวชนตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ....
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ