Text Size Languages
การสื่อสารทางการเมืองยุคดิจิทัลในการส่งเสริมพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ทางการเมืองท้องถิ่นของคนรุ่นใหม่ระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
การสื่อสารทางการเมืองยุคดิจิทัลในการส่งเสริมพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ทางการเมืองท้องถิ่นของคนรุ่นใหม่ระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับบทบาทของการสื่อสารทางการเมืองท้องถิ่นยุคดิจิทัลกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการสื่อสารทางการเมืองท้องถิ่นยุคดิจิทัลกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของคนรุ่นใหม่ ในการแสวงหาแนวทางการกระตุ้นการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของคนรุ่นใหม่โดยผ่านกลไกของสื่อมวลชนในการสื่อสารทางการเมืองท้องถิ่นยุคดิจิทัล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานใช้แบบสอบถามในการสำรวจข้อมูล และแบบสัมภาษณ์ พื้นที่การวิจัยคือ สถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชากรการวิจัยเป็นนักศึกษาทั้งชายและหญิงในสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยเชิงปริมาณศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างรวม 1,077 คน การวิจัยเชิงคุณภาพศึกษากลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 16 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลและตัวแบบเส้นทาง ผลการศึกษาพบว่า 1) บทบาทการสื่อสารทางการเมืองท้องถิ่นยุคดิจิทัลของคนรุ่นใหม่ระดับอุดมศึกษาในจังหวัดสุราษฎร์ธานีอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะบทบาทด้านการเสนอความคิดเห็นทางการเมืองท้องถิ่น การเป็นสื่อกลางระหว่างนักการเมืองท้องถิ่นกับประชาชน การถ่ายทอดข่าวสารทางการเมืองท้องถิ่น และการให้ความรู้ทางการเมืองท้องถิ่น 2) การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของกลุ่มคนรุ่นใหม่ระดับอุดมศึกษา อยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนทางการเมืองท้องถิ่น การเริ่มสนใจทางการเมือง และการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลการจัดทำกิจการสาธารณะ 3) การสื่อสารทางการเมืองท้องถิ่นยุคดิจิทัลมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลางกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น โดยบทบาทด้านการพัฒนาทางการเมืองท้องถิ่น การถ่ายทอดข่าวสารทางการเมืองท้องถิ่น และการเสนอความคิดเห็นทางการเมืองท้องถิ่นมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเริ่มสนใจทางการเมือง การมีส่วนร่วมตัดสินใจทำกิจการสาธารณะและการปรับเปลี่ยนทางการเมืองท้องถิ่น 4) การสื่อสารทางการเมืองท้องถิ่นยุคดิจิทัลด้านการถ่ายทอดข่าวสารทางการเมืองท้องถิ่นและการพัฒนาทางการเมืองท้องถิ่น เป็นปัจจัยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น 4.1) การมีส่วนร่วมโดยการริเริ่มสนใจการเมืองท้องถิ่นในการติดตามข่าวสารที่เกี่ยวกับการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4.2) การมีส่วนร่วมตัดสินใจทำกิจการสาธารณะท้องถิ่นเกี่ยวกับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการประชุมเพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นและร่วมตัดสินใจในประเด็นที่ชุมชนต้องการในการพัฒนาท้องถิ่น

Organizations :
สำนักงานสถิติแห่งชาติ
Metadata last updated :
December 19, 2021
Data and Resources

Openness


{{cur_meta.name}} {{cur_meta.download_stat}} downloads

Go to resource

Data API Visualization Embed {{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1 Fullscreen
All data records
Data number To
Data source cannot be displayed.
Source : ชุดข้อมูลการสื่อสารทางการเมืองยุคดิจิทัลในการส่งเสริมพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ทางการเมืองท้องถิ่นของคนรุ่นใหม่ระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ
Description
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล
Data last updated
Format
File Size
File Validation Valid data
File Validation Valid data
Data Dictionary
Column Type Label Description
{{field.id}} {{field.type}} {{field.info.label}} {{field.info.notes}}
Additional Info
English Title Local Political Communication in Digital Age for Enhancing Local Political Participation of New Generation in Higher Education in Surat Thani Province
Groups การพัฒนาการเรียนรู้
Tags การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น การสื่อสารทางการเมืองท้องถิ่นยุคดิจิทัล กิจการสาธารณะของท้องถิ่น คนรุ่นใหม่ สื่อมวลชน
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 010103
องค์ประกอบ 010103V01
ปัจจัย 010103F0102
Sustainable Development Goals SDG1002
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) การสื่อสารทางการเมืองยุคดิจิทัลมีความสัมพันธ์พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของ คนรุ่นใหม่ระดับอุดมศึกษาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย การสื่อสารทางการเมืองยุคดิจิทัลมีความสัมพันธ์พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของ คนรุ่นใหม่ระดับอุดมศึกษาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Visibility Public
License Open Government
นักวิจัย ดร.วัฒนา นนทชิต, ดร.กรวิทย์ เกาะกลาง
อีเมลนักวิจัย nontachit@gmail.com
State active
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและเยาวชนให้เกิดความเข้มแข็ง ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา 7 recent views
Abstract The research project on “Guidelines for strengthening social networks to support the work of Children and Youth Council to be strong in area of Nakhon Ratchasima...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ทักษะที่จำเป็นแห่งอนาคต(Future Skill) เพื่อเตรียม การพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย รองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(Disruption) ของ โลกศตวรรษที่ 21 118 recent views
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) ของโลกศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายด้านทั้งในมิติทางสังคมและทางเทคโนโลยี...
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
แนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับ National Digital Learning Platform สำหรับประเทศไทย 20 recent views
การวิจัย เรื่อง แนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงกับ National Digital Learning Platform สำหรับประเทศไทย...
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
นวัตกรรมสังคมด้านพฤฒพลังในการพึ่งพาตนเองของผู้สูงอายุใน พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 7 recent views
Research project on “Social innovation on the Active Aging of the elderly in the area of responsibility of the Office of Academic Promotion and Support 4”, was created to study...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.