ทักษะที่จำเป็นแห่งอนาคต(Future Skill) เพื่อเตรียม การพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย รองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(Disruption) ของ โลกศตวรรษที่ 21
Data source cannot be displayed.
Source : ชุดข้อมูลทักษะที่จำเป็นแห่งอนาคต(Future Skill) เพื่อเตรียม การพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย รองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว(Disruption) ของ โลกศตวรรษที่ 21 โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
Description | |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล | |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล | |
Data last updated | |
Format | |
File Size | |
File Validation | |
File Validation |
Data Dictionary
Column | Type | Label | Description |
---|---|---|---|
{{field.id}} | {{field.type}} | {{field.info.label}} | {{field.info.notes}} |
Additional Info
English Title | The Project to Study Future Skills for Developing Thais of all ages to prepare for 21st Century Disruption |
Groups | การพัฒนาการเรียนรู้ |
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ | 120101 |
องค์ประกอบ | 120101V03 |
ปัจจัย | 120101F0305 |
Sustainable Development Goals | SDG0407 |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) | รายงานทักษะที่จำเป็นแห่งอนาคต (Future Skill) เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) ของโลกศตวรรษที่ 21 : ผลการศึกษาและแนวทางการส่งเสริม สรุปผลการจัดลำดับทักษะแห่งอนาคตในภาพรวมที่จำเป็นสำหรับทุกช่วงวัย 5 อันดับแรก เรียงลำดับความสำคัญตามความหลากหลายในการรองรับสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) ได้แก่ (1) ทักษะความเข้าใจและการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ซึ่งมีความจำเป็นในการรองรับทั้ง 5 สถานการณ์ ในทุกช่วงวัย (2) ทักษะการแก้ปัญหา (Problem-solving) ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับทุกช่วงวัย รองรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) ในเกือบทุกสถานการณ์ (3) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และทักษะ การสื่อสาร (Communication Skills) ซึ่งครอบคลุมทักษะการสื่อสารทางธุรกิจ (Business Communication) ของช่วงวัยแรงงาน มีความจำเป็น ในการรับมือการสถานการณ์ที่หลากหลายพอกัน เช่นเดียวกัน (4) ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และ ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ (Relationship Building) และ (5) Empathy การเข้าใจผู้อื่น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่จำเป็นในการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) ทั้งด้านประชากร ช่วงวัย และการทำงานหรือ การเรียน คล้ายคลึงกันในทุกช่วงวัย |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย | รายงานทักษะที่จำเป็นแห่งอนาคต (Future Skill) เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Disruption) ของโลกศตวรรษที่ 21 : ผลการศึกษาและแนวทางการส่งเสริม 1 เรื่อง |
Visibility | Public |
License | Open Government |
นักวิจัย | 1.นางรุ่งตะวัน งามจิตอนันต์ 2.นางสาวชญานิษฐ์ สุวรรณกาญจน์ 3.นางสาวอภิชชญา โตวิวิชญ์ |
อีเมลนักวิจัย | EdResearchSye@gmail.com |
State | active |
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ (Coding) เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑...
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของทักษะที่จำเป็นของครูไทย 2) เพื่อศึกษาทักษะที่จำเป็นของครูไทยในยุคดิจิทัล 3)...
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
Research project on “Social innovation on the Active Aging of the elderly in the area of responsibility of the Office of Academic Promotion and Support 4”, was created to study...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
แนวคิดเรื่องการฟื้นตัวทางการศึกษาจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีประสิทธิภาพและเสมอภาคเป็นแนวทางที่หลายประเทศให้ความสนใจ...
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา