ขนาดตัวอักษร ภาษา
"ทุนทางสังคม"กับการจัดการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาพื้นที่เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และธรรมชาติ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
"ทุนทางสังคม"กับการจัดการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาพื้นที่เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และธรรมชาติ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

การวิจัยครั้งนี้ 1) เพื่อค้นหาและรวบรวมองค์ความรู้ของของทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชน 2) เพื่อนำ ทุนทางสังคมใช้ในการเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ 3) เพื่อสร้างนวัตกรรมการพัฒนา และการจัดการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ และ 4) เพื่อสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคท่องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชน การเก็บข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยผสมผสาน (Mix Method) โดยประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนพื้นที่ตำบลเวียงสระ คือ เมืองเวียง/ ตำบลบ6านส6อง คือ เทศบาลเวียงสระ และ ตำบลบ6านส6อง คือ บ6านเหนือคลอง จำนวน 1,354 คน การวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการ เก็บรวบรวมข6อมูลด6วยแบบสำรวจโดยวิธีการลงพื้นที่เก็บข6อมูลด6วยตัวเอง สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ โดย การศึกษาจากกลุCมผู6ให6ข6อมูลหลัก จำนวน 4 กลุCม 1) ผู6กำหนดนโยบาย 2) ผู6บริหารที่เกี่ยวข6องกับการทCองเที่ยว 3) ผู6ประกอบการภาคเอกชนและนักทCองเที่ยว 4) ผู6นำชุมชน และ 5) กลุCมการสื่อสารสาธารณะ โดยการ สัมภาษณ=เชิงลึก การวิเคราะห=ข6อมูลการใช6เชิงพรรณนาและวิเคราะห=เนื้อหาเพื่อนำข6อมูลมาสรุปและให6 ข6อเสนอแนะ ผลการวิจัย พบวCา 1) ทุนทางสังคมที่มีอยู4ในพื้นที่ชุมชนเมืองเวียง (ตัวแทนพื้นที่ทางวัฒนธรรม) พื้นที่ชุมชนบBานสBอง (ตัวแทนพื้นที่ทางเศรษฐกิจ) และพื้นที่ชุมชนบBานเหนือคลอง (ตัวแทนพื้นที่ทาง ทรัพยากรธรรมชาติ) ประกอบด6วย ทุนภูมิปgญญาและวัฒนธรรม ทุนมนุษย= และทุนสถาบัน รวมทั้งทุนทาง ธรรมชาติ ดังนี้ (1) พื้นที่ชุมชนเมืองเวียงมีความโดดเดCนทางด6านทุนทางภูมิปgญญาและวัฒนธรรม เปนพื้นที่ที่ มีผู6ที่มีความรู6ซึ่งถือเปนปราชญ=ชาวบ6านในด6านภูมิปgญญาวัฒนธรรม (2) พื้นที่ชุมชนบBานสBอง มีความโดดเดCน ในเรื่องทุนทางสถาบันและการรวมตัวบนฐานการอนุรักษ=รักษาดูแลพื้นที่ สCวนใหญCเปนบุคคลที่มีองค=ความรู6 มี ทักษะ และมีความสามารถในพื้นที่ หรือ การมีแกนนำของชุมชน และ (3) พื้นที่ชุมชนบBานเหนือคลอง มีความ โดดเดCนในเรื่องทุนทางทรัพยากรทางธรรมชาติ ผนวกกับทุนทางสังคมประเทศอื่น ๆ การรวมกลุCมของกลุCม องค=กรตCาง ๆ กลุCมกิจกรรมกิจกรรมตCาง ๆ ในชุมชนโดยเฉพาะกลุCมทางอาชีพ 2) ทุนทางสังคมใชBในการเพิ่มศักยภาพการท4องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสรBางสรรคN แสดงถึง องค=ประกอบที่สำคัญของทุนทางสังคมที่ชCวยเพิ่มศักยภาพการจัดการทCองเที่ยวสร6างสรรค=บนฐานชุมชน ประกอบด6วย (1) องคNความรูBของทุนมนุษยNและจากภูมิปQญญา พบวCา ทั้ง 3 พื้นที่เปนชุมชนที่มีความเคารพ นับถือกันในเรื่องขององค=ความรู6 ร6อยละ 75.3 อันดับหนึ่ง โดยเฉพาะทางด6านภูมิปgญญา ซึ่งถือวCาเปน ความสามารถสCวนบุคคล แตCได6สร6างคุณคCาให6กับพื้นที่ และให6ความสำคัญตCอบรรพบุรุษเปนอยCางมากและ สามารถเฉพาะสCวนบุคคลนำไปสูCการเพิ่มมูลคCาทางด6านเศรษฐกิจของชุมชนได6 (2) องคNประกอบดBานสถาบัน และองคNกร พบวCา การรวมกลุCมของกลุCมเครือขCาย ร6อยละ 72.2 อันดับหนึ่ง โดยชุมชนเมืองเวียงเปนการ รวมกลุCมเปนเครือขCาย ชุมชนตลาดบ6านส6องมีการรวมตัวกันของคนทางผCานสถาบันเปนการรวมตัวกันภายใต6สิ่ง ที่เปนการชื่นชอบของคนในชุมชน หรือ แม6กระทั่งการรวมตัวกันภายใต6คุณลักษณะของด6านอายุ หรือการรวม ตัวการภายใต6กลุCมที่สนใจเฉพาะเรื่อง และชุมชนบ6านเหนือคลองมีการรวมตัวกันของกลุCมองค=กรชุมชนในพื้นที่ เปนลักษณะของการรวมกลุCมกันทำเรื่องอาชีพ การรวมตัวกันของกลุCมองค=กรชุมชนนี้เมื่อพิจารณาแล6วจะพบวCา ก็จะเปนลักษณะของการรCวมลงมือปฏิบัติเพื่อสร6างความผูกพันระหวCางคนในชุมชน (3) องคNประกอบดBาน วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ พบวCา ทั้ง 3พื้นที่ พบวCา ทุนทางภูมิปgญญาวัฒนธรรมมีสCวนชCวยการสCงเสริม องค=ความรู6ด6านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของชุมชนเพื่อสCงเสริมการทCองเที่ยว ด6วยจำนวนร6อยละ 72.9 อันดับหนึ่ง โดยชุมชนเมืองเวียงยังมีความเชื่อที่เปนวัฒนธรรมดั้งเดิมและการประกอบพิธีกรรมตามคติความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรมของคนใต6 ภายใต6ชุมชนต6องมีการบริหารจัดการที่เหมาะสมเพื่อนำไปสูCการจัดการทCองเที่ยว อยCางสร6างสรรค=ในพื้นที่ สำหรับชุมชนตลาดบ6านส6องให6ความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีเกี่ยวกับผู6สูงอายุ และการให6ความสำคัญกับความเปนอาวุโสเราไปสูCกิจกรรมรดน้ำดำหัวผู6สูงอายุทำบุญรับตายายสิ่งเหลCานี้ สะท6อนให6เห็นถึงความสำคัญกับกตัญqูตCอบรรพบุรุษ และชุมชนบ6านเหนือคลอง ทุนทางทรัพยากรทาง ธรรมชาติที่ชุมชนมีอยูCรCวมกันจากการที่ธรรมชาติเหลCานี้กลายเปนมูลคCาและคุณคCารCวมของชุมชน เชCน น้ำตก ตCาง ๆ ที่กลายเปนของคCูกันของชุมชนบ6านเหนือคลอง แม6กระทั่งต6นไม6ที่เกิดขึ้นเฉพาะถิ่น เชCน ต6นมหาสดำ เปน ต6น (4) องคNประกอบดBานทรัพยากรธรรมชาติ พบวCา ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติที่ชCวยเสริมศักยภาพการ ทCองเที่ยวชุมชนเชิงสร6างสรรค=นั้นทุนทางทรัพยากรทางธรรมชาติมีการเน6นการใช6ประโยชน=รCวมกันของทุกคน ภายในชุมชนจากทรัพยากรทั้งหลายที่มีอยูCในชุมชน ด6วยจำนวนร6อยละ 73.5 และการมีทุนทางทรัพยากรทาง ธรรมชาติที่เพียงพอในการสนับสนุนการจัดการทCองเที่ยว การมีที่พักแรม และสิ่งอำนวยความสะดวก สามารถ รองรับนักทCองเที่ยว หรือ การมีทรัพยากรทางธรรมชาติมีทัศนียภาพที่มีความอุดมสมบูรณ= รวมทั้งความพร6อม ของชุมชนและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทCองเที่ยว และมีเส6นทางหรือการกำหนดจุดที่เพื่อเข6าถึงแหลCง ทCองเที่ยว เพื่อเพิ่มศักยภาพของทุนทางทรัพยากรทางธรรมชาติ ในการยกระดับการทCองเที่ยวบนฐานเชิง สร6างสรรค=เปนองค=ประกอบที่สำคัญลดหลั่นกัน ดังนั้นการให6ความสำคัญกับองค=ประกอบทุนทาง ทรัพยากรธรรมชาติ เปนสิ่งที่จำเปนมากและสำคัญมาก 3) รูปแบบการจัดการท4องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสรBางสรรคN สามารถสรุปผลรูปแบบการจัดการทCองเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร6างสรรค= เปนการแสดงตัวอยCาง กับการจัดการทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค=รCวมกับวัฒนธรรมภูมิปgญญาท6องถิ่น ชุมชนเมืองเวียง ชุมชนบ6านส6อง และ ชุมชนบ6านเหนือคลอง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร=ธานี โดยมีรูปแบบและขั้นตอน (1) การคัดสรรกิจกรรม การทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค=ในชุมชน (2) การพัฒนาองค=ความรู6ของแตCละกิจกรรม (3) การทดลองนำเที่ยวใน กิจกรรมการทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค= (4) การประกาศกิจกรรมการทCองเที่ยวที่มีศักยภาพ และ (5) การ ประเมินผลกิจกรรมการทCองเที่ยว 4) ความร4วมมือของภาคีเครือข4ายชุมชน หน4วยงานภาครัฐ ภาคทBองถิ่น ภาคเอกชน และภาค ประชาชน ผลการวิจัยสูCข6อเสนอการมีทักษะความรู6ด6านการจัดการการทCองเที่ยวแกCคนในชุมชนและทำให6 นักทCองเที่ยวได6รับความรู6ความเข6าใจเพื่อการปฏิบัติตัวอยCางถูกต6องและควรมีแผนยุทธศาสตร=การสCงเสริมการ ทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค=แบบมีสCวนรCวมระดับชุมชนและภาคีภายนอก โดยทำในระดับ 3 ระดับ คือ กCอน ดำเนินการ ระหวCางการดำเนินการ และหลังการดำเนินการ ทั้งนี้การพัฒนาทุนทางสังคมของชุมชนเมืองเวียง ชุมชนบ6านส6อง และชุมชนบ6านเหนือคลองถือเปนกลไกลหลักในสร6างความเข6มแข็งของชุมชน สCงผลให6เกิด กระบวนการเรียนรู6ใน (1) การสรBางองคNความรูB การขยายเครือข4าย การทำงานร4วมกันในหลายภาคส4วน เพราะแตCละชุมชนมีการจัดการภูมิปgญญา ความเชื่อ ความศรัทธา การรวมกลุCมสถาบัน องค=ความรู6และ ทรัพยากรทางทรัพยากรทางธรรมชาติ ในพื้นที่จึงถือเปนจุดเชื่อมโยงองคาพยพตCาง ๆ จากภายนอก ซึ่ง ประชาชนในพื้นที่ต6องรCวมกันทำงานของชุมชนทั้ง 3 พื้นที่ (2) การเพิ่มมูลค4าทางเศรษฐกิจ การพัฒนา ศักยภาพของชุมชนทั้ง 3 พื้นที่เกิดขึ้นจากการที่เราสามารถนำทุนทางสังคม โดยให6คนในพื้นที่รับรู6และเข6าใจ การมีอยูCของทุนทางสังคมรูปแบบตCาง ๆ อยCางกว6างขวาง และสามารถเข6าไปเปนสCวนหนึ่งของกลไกขับเคลื่อน ของชุมชน พร6อมทั้งขยายการเชื่อมโยงการเปนเครือขCายการทำงานกับพื้นที่อื่น ๆ เชCน จังหวัดใกล6เคียง หรือ ประเด็นที่ดำเนินการประเด็นเดียวกัน และผู6ที่มีสCวนเกี่ยวข6องกับกลุCมประชาสังคมเหลCานี้จะต6องนำทุนทาง สังคมมาใช6อยCางฉลาด บริหารทรัพยากรที่มีอยูCให6เกิดประโยชน=สูงสุด มีคุณคCา ดูแล รักษาทุนทางสังคมที่สำคัญ ของทั้ง 3 พื้นที่ ซึ่งมาจากชุมชนให6คงอยูC ชุมชนเห็นพ6องต6องกัน สามารถตอบสนองความต6องการของชุมชนและ แก6ปgญหาชุมชนได6ตามเป_าหมายที่ชุนชนต6องการ ดังนั้นทุนทางสังคมของชุมชน 3 พื้นที่อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร=ธานีหัวใจสำคัญอยูCที่การใช6ทุน ทางสังคมที่มีอยูCเดิมเปนกลไกลสร6างให6ชุมชนมีการเคลื่อนไหวที่เข6มแข็งและสCงผลตCอการทำใช6ชุมชนอยูCได6อยCาง ยั่งยืนภายใต6การจัดการทCองเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร6างสรรค= และการพัฒนาทุนทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการที่ ประชาชนคนธรรมดา กลุCมคนที่เปนชาวบ6านธรรมดา สามัญชนคนธรรมดา สามารถสร6างกลุCมที่มีสCวนรCวมและ แสดงออกถึงระบบของการจัดการโดยผCานกระบวนการเรียนรู6ของภูมิปgญญา วัฒนธรรม ความเชื่อ ความ ศรัทธา ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูCเดิม และการยกระดับความสำนึกของประชาชน ซึ่งถือเปนการสร6างชุมชนที่มี ทุนทางสังคมที่เข6มแข็งและยั่งยืนนั้นเอง แตCถ6าเมื่อไหรCทุนทางสังคมล6มสลาย ชุมชนไมCเข6มแข็ง ทำงานขาด การบูรณาการ ชุมชนอาจล6มสลายตามไปด6วย การมีมูลคCาทางเศรษฐกิจไมCวCารูปแบบใดก็จะไมCเกิดขึ้นด6วย เชCนเดียวกันแตCถ6าทุนทางสังคมมีการพัฒนาตCอยอดอยCางตCอเนื่อง ใช6การพัฒนาชุมชนท6องถิ่นเปนฐานที่สำคัญ การเพิ่มมูลคCา พัฒนาศักยภาพ ชุมชนก็จะเข6มแข็งพร6อมเปนกลไกที่ชCวยสร6างกระบวนการเรียนรู6เพื่อขับเคลื่อน การมีสCวนรCวมในกระบวนการของชุมชนท6องถิ่นเพื่อปรับเปลี่ยนจากประชาชนธรรมดา ๆ มาเป`นประชาชน ผู6กระตือรือร6น ความผูกพัน และสำนึกรับผิดชอบตCอสังคมเพื่อนำไปสูCการบูรณาการชุมชนให6เกิดความยั่งยืน

องค์กร :
สำนักงานสถิติแห่งชาติ
วันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด :
17 ธันวาคม 2564
ความเคลื่อนไหว
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.