Text Size Languages
ผลของการใช้แลคโตบาซิลลัสและมันเทศต่อการเจริญเติบโต และองค์ประกอบเลือดของปลานิล
ผลของการใช้แลคโตบาซิลลัสและมันเทศต่อการเจริญเติบโต และองค์ประกอบเลือดของปลานิล

การเลี้ยงปลานิล สามารถใช้อาหารสำเร็จรูปผสมแลคโตบาซิลลัส 1012 CFU ต่ออาหาร 1 กรัม ร่วมกับมันเทศ 7.5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ทำให้ปลานิลมีการเจริญเติบโต มีอัตรารอด ช่วยเพิ่มผลผลิต มีระบบภูมิคุ้มกัน เพื่อให้ลดการใช้ยาสารเคมี

Organizations :
กรมประมง
Metadata last updated :
March 3, 2022
Data and Resources

Openness


{{cur_meta.name}} {{cur_meta.download_stat}} downloads

Go to resource

Data API Visualization Embed {{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1 Fullscreen
All data records
Data number To
Data source cannot be displayed.
Source : ชุดข้อมูลผลของการใช้แลคโตบาซิลลัสและมันเทศต่อการเจริญเติบโต และองค์ประกอบเลือดของปลานิล โดยกรมประมง
Description
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล
Data last updated
Format
File Size
File Validation Valid data
File Validation Valid data
Data Dictionary
Column Type Label Description
{{field.id}} {{field.type}} {{field.info.label}} {{field.info.notes}}
Additional Info
English Title Effects of Lactobacillus plantarum and Sweet Potato (Ipomoea batatas) on Growth Performance and Hematological Aspects of Nile Tilapia, Oreochromis niloticus (Linnaeus, 1758)
Groups การเกษตร
Tags เกษตรชีวภาพ เกษตรปลอดภัย
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 030201
องค์ประกอบ 030201V02
ปัจจัย 030201F0204
Sustainable Development Goals SDG0201
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในสาขาการเกษตรเพิ่มขึ้น
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย ผลงานวิจัย การเตรียมอาหารเลี้ยงปลานิลที่มีส่วนผสมของมันเทศ ผงมันเทศเป็นแหล่งอาหารเลี้ยงโปรไบโอติก และพรีไบโอติก นำไปผสมในอาหารสำเร็จรูปเลี้ยง ใช้เลี้ยงปลานิล นักวิจัยนำองค์ความรู้ และการฝึกปฏิบัติ ไปถ่ายทอดให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัดแพร่ (อ.สอง อ.เมืองแพร่ อ.ร้องกวาง) จำนวน 60 ราย เพื่อช่วยเกษตรกรให้มีความรู้ ใช้มันเทศเป็นวัตถุดิบผสมในอาหารปลา สร้างซินไบโอติก ช่วยลดปัญหาปลานิลตาย จากการเลี้ยงแบบหนาแน่น เพิ่มภูมิคุ้มกัน ปลานิลแข็งแรง มีอัตราการรอดตายเพิ่ม ช่วยลดการใช้ยาปฏิชีวนะ ทำให้ประหยัดต้นทุน จำนวนผู้ได้รับการถ่ายทอดความรู้ : เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำ ในพื้นที่จังหวัดแพร่ (อ.สอง อ.เมืองแพร่ อ.ร้องกวาง) จำนวน 60 ราย
พื้นที่เป้าหมาย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
Visibility Public
License Open Government
นักวิจัย นางสาวรจวรรณ จดชัยภูมิ
อีเมลนักวิจัย r_fisheries@hotmail.com
State active
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ผลของความหนาแน่นต่อการเจริญเติบโตของปลาชะโอน 2 ขนาดในกระชัง 10 recent views
เพื่อทราบความหนาแน่นที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากการเจริญเติบโต อัตราการแลกเนื้อ อัตรารอด ต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงปลาชะโอน ในกระชังจากปลาขนาด 1 กรัม จนได้ ขนาด 20-30 กรัม และ...
กรมประมง
เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและอัตรารอดตายของกุ้งแชบ๊วยพันธุ์ปรับปรุง และพันธุ์จากธรรมชาติที่เลี้ยงด้วยความหนาแน่นต่างกัน 2 recent views
เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโต และอัตรารอดตายระหว่างกุ้งแชบ๊วยพันธุ์ปรับปรุงกับกุ้งแชบ๊วยพันธุ์จากธรรมชาติ ที่เลี้ยงในกระชังภายในบ่อซีเมนต์ด้วยความหนาแน่นที่แตกต่างกัน 3 ระดับ
กรมประมง
การทดสอบปลาหมอ “ชุมพร 1” ในสภาพแวดล้อมศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำอุตรดิตถ์ 1 recent views
1) เพื่อเป็นข้อมูลในการเลือกใช้พันธุ์ปลาหมอ “ชุมพร 1”ที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์และพื้นที่ ๆ สภาพแวดล้อมใกล้เคียงกับจังหวัดอุตรดิตถ์ 2)...
กรมประมง
ผลของการเสริมผงถ่านไม้ไผ่ น้ําส้มควันไม้ไผ่ และการใช้ร่วมกันต่อสมรรถภาพ คุณภาพไข่ การเปลี่ยนแปลงของวิลไล และปริมาณแบคทีเรียในลําไส้ของไก่ไข่ 11 recent views
การศึกษาครั้งนี้เป็นการทดสอบผลการเสริมผงถ่านไม้ไผ่และน้ําส้มควันไม้ไผ่ทั้งในรูปแบบเดี่ยวและการใช้ ร่วมกันในอาหารของไก่ไข่ต่อสมรรถภาพ คุณภาพไข่...
สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.