รายงานการศึกษาแนวทางการเพิ่มศักยภาพศูนย์การเรียนภูมิปัญญาไทย ในการอนุรักษ์สืบสานทรัพยากรพื้นถิ่นอย่างยั่งยืน
รายงานการศึกษาแนวทางการเพิ่มศักยภาพศูนย์การเรียนภูมิปัญญาไทย ในการอนุรักษ์สืบสานทรัพยากรพื้นถิ่นอย่างยั่งยืน
Data source cannot be displayed.
Извор : ชุดข้อมูลรายงานการศึกษาแนวทางการเพิ่มศักยภาพศูนย์การเรียนภูมิปัญญาไทย ในการอนุรักษ์สืบสานทรัพยากรพื้นถิ่นอย่างยั่งยืน โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
Опис | |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล | |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล | |
Последно ажурирани податоци | |
Формат | |
Големина на датотека | |
File Validation | |
File Validation |
Речник на податоци
Колона | Тип | Ознака | Опис |
---|---|---|---|
{{field.id}} | {{field.type}} | {{field.info.label}} | {{field.info.notes}} |
Дополнителни информации
English Title | Study Report on Enhancing Thai Wisdom Learning Centers for Sustainable Inheritance Preservation. |
Групи | การพัฒนาการเรียนรู้ |
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ | 120101 |
องค์ประกอบ | 120101V05 |
ปัจจัย | 120101F0505 |
Sustainable Development Goals | SDG0401 |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) | ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี กำหนดแนวทางการพัฒนาประเทศให้หน่วยงานรัฐ ใช้เป็นกรอบการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายการพัฒนาประเทศคือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” ซึ่งในยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายเพื่อให้ “สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต” โดยให้ความสำคัญกับการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาการเรียนรู้ มีเป้าหมายเพื่อ “คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาและคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต” ดังนั้น การถอดบทเรียนศูนย์การเรียนภูมิปัญญาไทยด้านเกษตรกรรมใน 4 ภูมิภาค ซึ่งมีครูภูมิปัญญาไทย ผู้ซึ่งได้รับการยกย่องเป็นบุคคลต้นแบบ ซึ่งมีองค์ความรู้ในด้านเกษตรกรรม ดำเนินวิถีชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาแก้ไขปัญหา และได้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้โดยจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนภูมิปัญญาไทย เพื่อใช้เป็นสถานที่ถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาและเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ที่สำคัญสำหรับบุคคลในทุกช่วงวัยที่มีความสนใจด้านเกษตรกรรม สามารถเข้าถึงได้และสามารถศึกษาเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการนำเสนอข้อมูล/องค์ความรู้ต่าง ๆ ของภูมิปัญญาไทยด้านเกษตรกรรมไว้บนแพลตฟอร์มทำให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ไม่จำกัดเวลา เสมือนได้เรียนรู้โดยตรงจากครูภูมิปัญญาไทยและช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้คนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดช่วงชีวิตขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายการพัฒนาประเทศ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ต่อไป |
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย | แนวคิด วิธีการที่ทำให้ครูภูมิปัญญาไทยทั้ง ๔ ท่านประสบความสำเร็จ ไม่ว่าจะเป็นด้านการพัฒนาต่อยอดอาชีพ การถ่ายทอดสืบสาน และ การอนุรักษ์ธรรมชาติสามารถนำไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นต้นแบบตัวอย่าง ให้เกษตรกร ครู อาจารย์ เด็ก เยาวชน ศูนย์การเรียนฯ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนทั่วไปสามารถนำไปประยุกต์ใช้พัฒนาตน พัฒนาอาชีพ ตามบริบทของตน ซึ่งจะช่วยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการการดำเนินงาน การประกอบอาชีพได้มากยิ่งขึ้น สำหรับข้อเสนอที่ได้จากงานวิจัย สามารถเป็นข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้นำไปพัฒนาการดำเนินงานในอนาคตต่อไป นอกจากนี้ เพื่อให้การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยเข้าใจง่าย สำนักงานได้จัดทำหนังสือเล่มเล็กที่สรุปผลการวิจัยแบบสั้นๆ และเข้าใจง่ายสำหรับประชาชนที่สนใจ ในหนังสือนอกจากได้ทราบเคล็ดลับความสำเร็จแล้ว มีโปรแกรมที่สามารถเชื่อมต่อกับสื่อวีดิทัศน์ของครูแต่ละท่าน ผู้อ่านสามารถเปิดชมให้เห็นวิธีการ การดำเนินการของศูนย์การเรียนแต่ละศูนย์ฯ ได้อย่างชัดเจน “หนังสืออ่านง่าย” ดำเนินการจัดพิมพ์ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ นี้ |
Видливост | Јавно |
Лиценца | Open Government |
นักวิจัย | 1) รศ.ดร.พนิต เข็มทอง หัวหน้าโครงการ 2) รศ.ดร.วรัทยา ธรรมกิตติภพ นักวิจัย 3) รศ.สุวิสา พัฒนเกียรติ ผู้ช่วยนักวิจัย 4) น.ส.วารุณี ผลประเสริฐ ผู้ช่วยนักวิจัย 5) นางวรดา ผลประสาร ผู้ช่วยนักวิจัย 6) นายวรวีร์ รายา ผู้ช่วยนักวิจัย 7) นายวิเชียร คดพิมพ์ ผู้ช่วยนักวิจัย 8) นายวิษณุ สันสน ผู้ช่วยนักวิจัย |
อีเมลนักวิจัย | etoku@ku.ac.th |
Состојба | active |