Text Size Languages
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานธนาคารเวลาของประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานธนาคารเวลาของประเทศไทย

โครงการวิจัยนี้เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินงานธนาคารเวลาของประเทศไทยเป็นโครงการใหม่ที่มี ความสำคัญ และมีความซับซ้อนเชิงเทคนิคและกระบวนการดำเนินงาน กรมกิจการผู้สูงอายุได้ตระหนักถึงการ ขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน จึงจำเป็นต้องศึกษา รูปแบบการดำเนินงานธนาคารเวลาที่เหมาะสมกับประเทศไทย โดยอาศัยบุคคลภายนอกที่มีความรู้ความ เชี่ยวชาญในศาสตร์ต่างๆ ที่จำเป็นและเกี่ยวข้อง เพื่อให้กรมกิจการผู้สูงอายุสามารถออกแบบมาตรการและ นโยบายที่มีความเหมาะสม ปรับใช้กับบริบทของประเทศไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เอื้อต่อการ กระตุ้นให้นำนวัตกรรมมาใช้ในการจัดระบบการดำเนินงานธนาคารเวลาของประเทศไทย การเข้าใจข้อจำกัด จุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อศึกษาทางเลือกในการดำเนินงานที่หลากหลาย รวมทั้งมีการติดตามประเมินผล และถอด บทเรียนนำข้อมูลมาพัฒนาและปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและสามารถขยายผลไปยัง พื้นที่อื่นๆ ทั่วประเทศไทยต่อไป โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. เพื่อทบทวนองค์ความรู้ ประสบการณ์การดำเนินงานธนาคารเวลาของประเทศไทย 2 เพื่อศึกษากระบวนการ และถอดบทเรียนการดำเนินงานของหน่วยงาน/พื้นที่ ที่ได้ดำเนินงาน โครงการธนาคารเวลา 3. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคู่มือธนาคารเวลาให้เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของประเทศไทย 4. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายรองรับสังคมสูงวัย โดยใช้แนวคิดธนาคารเวลาของประเทศไทย

โดยการประเมินรูปแบบการพัฒนาธนาคารเวลาของไทย จะอาศัยกรอบแนวคิดที่สำคัญ คือ การ ประเมินผลกระทบทางสังคม หรือ Social Impact Assessment (SIA) ในการวิเคราะห์เครื่องมือในการ วิเคราะห์ SIA มีจุดเด่น คือ เป็นเครื่องมือที่พิจารณาคุณค่าที่เกิดขึ้นมากกว่าผลประโยชน์ทางธุรกิจที่คำนึงถึง เฉพาะผลกำไรและต้นทุน (Cost-Benefit approach) โดยจะคำนึงถึงคุณค่าทางสังคมที่เกิดขึ้นทั้งหมด ทั้งใน แง่บวกและในแง่ลบ ทั้งในส่วนที่อยู่ในรูปของตัวเงินและที่ไม่ได้อยู่ในรูปของตัวเงิน นอกจากนี้ การวิเคราะห์ยังจะอาศัยแบบจำลองโลจิค (Logic Model) ในการประเมินความเชื่อมโยง ระหว่างปัจจัยที่สำคัญที่เกี่ยวข้อง อันได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการทำงาน กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์ และ ผลกระทบ เพื่อศึกษาถึงความเชื่อมโยงระหว่างกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

Organizations :
กรมกิจการผู้สูงอายุ
Metadata last updated :
August 16, 2022
Data and Resources

Openness


{{cur_meta.name}} {{cur_meta.download_stat}} downloads

Go to resource

Data API Visualization Embed {{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1 Fullscreen
All data records
Data number To
Data source cannot be displayed.
Source : ชุดข้อมูลรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานธนาคารเวลาของประเทศไทย โดยกรมกิจการผู้สูงอายุ
Description
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล
Data last updated
Format
File Size
File Validation Valid data
File Validation Valid data
Data Dictionary
Column Type Label Description
{{field.id}} {{field.type}} {{field.info.label}} {{field.info.notes}}
Additional Info
English Title Time Bank Thailand
Groups พลังทางสังคม
Tags ธนาคารเวลา
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 150202
องค์ประกอบ 150202V04
ปัจจัย 150202F0403
Sustainable Development Goals SDG0103
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) -
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย -
Visibility Public
License Open Government
นักวิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
อีเมลนักวิจัย tkm@tdri.or.th
State active
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
โครงการศึกษาชุมชนอาเซียนในประเทศไทย : มาตรการ กลไก เพื่อการคุ้มกันผลกระทบทางสังคม 3 recent views
โครงการศึกษาชุมชนอาเซียนในประเทศไทย : มาตรการ กลไก เพื่อการคุ้มกัน ผลกระทบทางสังคม...
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กรอบการประเมินคุณภาพข้อมูลด้านการศึกษาของประเทศไทย 6 recent views
กรอบการประเมินคุณภาพข้อมูล (Data Quality Assessment Framework : DQAF) ได้รับการพัฒนา ขึ้นครั้งแรกโดย The International Monetary Fund (IMF)...
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
รายงานข้อค้นพบจากการทดสอบ O-NET ด้วยรูปแบบข้อสอบอัตนัย 4 recent views
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาภาษาไทย ดวยรูปแบบขอสอบอัตนัย...
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
แนวทางการฟื้นตัวทางการศึกษาจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีประสิทธิภาพและเสมอภาค 17 recent views
แนวคิดเรื่องการฟื้นตัวทางการศึกษาจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีประสิทธิภาพและเสมอภาคเป็นแนวทางที่หลายประเทศให้ความสนใจ...
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.