Text Size Languages
"ทุนทางสังคม"กับการจัดการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาพื้นที่เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และธรรมชาติ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
"ทุนทางสังคม"กับการจัดการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาพื้นที่เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และธรรมชาติ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

การวิจัยครั้งนี้ 1) เพื่อค้นหาและรวบรวมองค์ความรู้ของของทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชน 2) เพื่อนำ ทุนทางสังคมใช้ในการเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ 3) เพื่อสร้างนวัตกรรมการพัฒนา และการจัดการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ และ 4) เพื่อสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคท่องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชน การเก็บข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยผสมผสาน (Mix Method) โดยประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนพื้นที่ตำบลเวียงสระ คือ เมืองเวียง/ ตำบลบ6านส6อง คือ เทศบาลเวียงสระ และ ตำบลบ6านส6อง คือ บ6านเหนือคลอง จำนวน 1,354 คน การวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการ เก็บรวบรวมข6อมูลด6วยแบบสำรวจโดยวิธีการลงพื้นที่เก็บข6อมูลด6วยตัวเอง สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ โดย การศึกษาจากกลุCมผู6ให6ข6อมูลหลัก จำนวน 4 กลุCม 1) ผู6กำหนดนโยบาย 2) ผู6บริหารที่เกี่ยวข6องกับการทCองเที่ยว 3) ผู6ประกอบการภาคเอกชนและนักทCองเที่ยว 4) ผู6นำชุมชน และ 5) กลุCมการสื่อสารสาธารณะ โดยการ สัมภาษณ=เชิงลึก การวิเคราะห=ข6อมูลการใช6เชิงพรรณนาและวิเคราะห=เนื้อหาเพื่อนำข6อมูลมาสรุปและให6 ข6อเสนอแนะ ผลการวิจัย พบวCา 1) ทุนทางสังคมที่มีอยู4ในพื้นที่ชุมชนเมืองเวียง (ตัวแทนพื้นที่ทางวัฒนธรรม) พื้นที่ชุมชนบBานสBอง (ตัวแทนพื้นที่ทางเศรษฐกิจ) และพื้นที่ชุมชนบBานเหนือคลอง (ตัวแทนพื้นที่ทาง ทรัพยากรธรรมชาติ) ประกอบด6วย ทุนภูมิปgญญาและวัฒนธรรม ทุนมนุษย= และทุนสถาบัน รวมทั้งทุนทาง ธรรมชาติ ดังนี้ (1) พื้นที่ชุมชนเมืองเวียงมีความโดดเดCนทางด6านทุนทางภูมิปgญญาและวัฒนธรรม เปนพื้นที่ที่ มีผู6ที่มีความรู6ซึ่งถือเปนปราชญ=ชาวบ6านในด6านภูมิปgญญาวัฒนธรรม (2) พื้นที่ชุมชนบBานสBอง มีความโดดเดCน ในเรื่องทุนทางสถาบันและการรวมตัวบนฐานการอนุรักษ=รักษาดูแลพื้นที่ สCวนใหญCเปนบุคคลที่มีองค=ความรู6 มี ทักษะ และมีความสามารถในพื้นที่ หรือ การมีแกนนำของชุมชน และ (3) พื้นที่ชุมชนบBานเหนือคลอง มีความ โดดเดCนในเรื่องทุนทางทรัพยากรทางธรรมชาติ ผนวกกับทุนทางสังคมประเทศอื่น ๆ การรวมกลุCมของกลุCม องค=กรตCาง ๆ กลุCมกิจกรรมกิจกรรมตCาง ๆ ในชุมชนโดยเฉพาะกลุCมทางอาชีพ 2) ทุนทางสังคมใชBในการเพิ่มศักยภาพการท4องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสรBางสรรคN แสดงถึง องค=ประกอบที่สำคัญของทุนทางสังคมที่ชCวยเพิ่มศักยภาพการจัดการทCองเที่ยวสร6างสรรค=บนฐานชุมชน ประกอบด6วย (1) องคNความรูBของทุนมนุษยNและจากภูมิปQญญา พบวCา ทั้ง 3 พื้นที่เปนชุมชนที่มีความเคารพ นับถือกันในเรื่องขององค=ความรู6 ร6อยละ 75.3 อันดับหนึ่ง โดยเฉพาะทางด6านภูมิปgญญา ซึ่งถือวCาเปน ความสามารถสCวนบุคคล แตCได6สร6างคุณคCาให6กับพื้นที่ และให6ความสำคัญตCอบรรพบุรุษเปนอยCางมากและ สามารถเฉพาะสCวนบุคคลนำไปสูCการเพิ่มมูลคCาทางด6านเศรษฐกิจของชุมชนได6 (2) องคNประกอบดBานสถาบัน และองคNกร พบวCา การรวมกลุCมของกลุCมเครือขCาย ร6อยละ 72.2 อันดับหนึ่ง โดยชุมชนเมืองเวียงเปนการ รวมกลุCมเปนเครือขCาย ชุมชนตลาดบ6านส6องมีการรวมตัวกันของคนทางผCานสถาบันเปนการรวมตัวกันภายใต6สิ่ง ที่เปนการชื่นชอบของคนในชุมชน หรือ แม6กระทั่งการรวมตัวกันภายใต6คุณลักษณะของด6านอายุ หรือการรวม ตัวการภายใต6กลุCมที่สนใจเฉพาะเรื่อง และชุมชนบ6านเหนือคลองมีการรวมตัวกันของกลุCมองค=กรชุมชนในพื้นที่ เปนลักษณะของการรวมกลุCมกันทำเรื่องอาชีพ การรวมตัวกันของกลุCมองค=กรชุมชนนี้เมื่อพิจารณาแล6วจะพบวCา ก็จะเปนลักษณะของการรCวมลงมือปฏิบัติเพื่อสร6างความผูกพันระหวCางคนในชุมชน (3) องคNประกอบดBาน วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ พบวCา ทั้ง 3พื้นที่ พบวCา ทุนทางภูมิปgญญาวัฒนธรรมมีสCวนชCวยการสCงเสริม องค=ความรู6ด6านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของชุมชนเพื่อสCงเสริมการทCองเที่ยว ด6วยจำนวนร6อยละ 72.9 อันดับหนึ่ง โดยชุมชนเมืองเวียงยังมีความเชื่อที่เปนวัฒนธรรมดั้งเดิมและการประกอบพิธีกรรมตามคติความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรมของคนใต6 ภายใต6ชุมชนต6องมีการบริหารจัดการที่เหมาะสมเพื่อนำไปสูCการจัดการทCองเที่ยว อยCางสร6างสรรค=ในพื้นที่ สำหรับชุมชนตลาดบ6านส6องให6ความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีเกี่ยวกับผู6สูงอายุ และการให6ความสำคัญกับความเปนอาวุโสเราไปสูCกิจกรรมรดน้ำดำหัวผู6สูงอายุทำบุญรับตายายสิ่งเหลCานี้ สะท6อนให6เห็นถึงความสำคัญกับกตัญqูตCอบรรพบุรุษ และชุมชนบ6านเหนือคลอง ทุนทางทรัพยากรทาง ธรรมชาติที่ชุมชนมีอยูCรCวมกันจากการที่ธรรมชาติเหลCานี้กลายเปนมูลคCาและคุณคCารCวมของชุมชน เชCน น้ำตก ตCาง ๆ ที่กลายเปนของคCูกันของชุมชนบ6านเหนือคลอง แม6กระทั่งต6นไม6ที่เกิดขึ้นเฉพาะถิ่น เชCน ต6นมหาสดำ เปน ต6น (4) องคNประกอบดBานทรัพยากรธรรมชาติ พบวCา ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติที่ชCวยเสริมศักยภาพการ ทCองเที่ยวชุมชนเชิงสร6างสรรค=นั้นทุนทางทรัพยากรทางธรรมชาติมีการเน6นการใช6ประโยชน=รCวมกันของทุกคน ภายในชุมชนจากทรัพยากรทั้งหลายที่มีอยูCในชุมชน ด6วยจำนวนร6อยละ 73.5 และการมีทุนทางทรัพยากรทาง ธรรมชาติที่เพียงพอในการสนับสนุนการจัดการทCองเที่ยว การมีที่พักแรม และสิ่งอำนวยความสะดวก สามารถ รองรับนักทCองเที่ยว หรือ การมีทรัพยากรทางธรรมชาติมีทัศนียภาพที่มีความอุดมสมบูรณ= รวมทั้งความพร6อม ของชุมชนและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทCองเที่ยว และมีเส6นทางหรือการกำหนดจุดที่เพื่อเข6าถึงแหลCง ทCองเที่ยว เพื่อเพิ่มศักยภาพของทุนทางทรัพยากรทางธรรมชาติ ในการยกระดับการทCองเที่ยวบนฐานเชิง สร6างสรรค=เปนองค=ประกอบที่สำคัญลดหลั่นกัน ดังนั้นการให6ความสำคัญกับองค=ประกอบทุนทาง ทรัพยากรธรรมชาติ เปนสิ่งที่จำเปนมากและสำคัญมาก 3) รูปแบบการจัดการท4องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสรBางสรรคN สามารถสรุปผลรูปแบบการจัดการทCองเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร6างสรรค= เปนการแสดงตัวอยCาง กับการจัดการทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค=รCวมกับวัฒนธรรมภูมิปgญญาท6องถิ่น ชุมชนเมืองเวียง ชุมชนบ6านส6อง และ ชุมชนบ6านเหนือคลอง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร=ธานี โดยมีรูปแบบและขั้นตอน (1) การคัดสรรกิจกรรม การทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค=ในชุมชน (2) การพัฒนาองค=ความรู6ของแตCละกิจกรรม (3) การทดลองนำเที่ยวใน กิจกรรมการทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค= (4) การประกาศกิจกรรมการทCองเที่ยวที่มีศักยภาพ และ (5) การ ประเมินผลกิจกรรมการทCองเที่ยว 4) ความร4วมมือของภาคีเครือข4ายชุมชน หน4วยงานภาครัฐ ภาคทBองถิ่น ภาคเอกชน และภาค ประชาชน ผลการวิจัยสูCข6อเสนอการมีทักษะความรู6ด6านการจัดการการทCองเที่ยวแกCคนในชุมชนและทำให6 นักทCองเที่ยวได6รับความรู6ความเข6าใจเพื่อการปฏิบัติตัวอยCางถูกต6องและควรมีแผนยุทธศาสตร=การสCงเสริมการ ทCองเที่ยวเชิงสร6างสรรค=แบบมีสCวนรCวมระดับชุมชนและภาคีภายนอก โดยทำในระดับ 3 ระดับ คือ กCอน ดำเนินการ ระหวCางการดำเนินการ และหลังการดำเนินการ ทั้งนี้การพัฒนาทุนทางสังคมของชุมชนเมืองเวียง ชุมชนบ6านส6อง และชุมชนบ6านเหนือคลองถือเปนกลไกลหลักในสร6างความเข6มแข็งของชุมชน สCงผลให6เกิด กระบวนการเรียนรู6ใน (1) การสรBางองคNความรูB การขยายเครือข4าย การทำงานร4วมกันในหลายภาคส4วน เพราะแตCละชุมชนมีการจัดการภูมิปgญญา ความเชื่อ ความศรัทธา การรวมกลุCมสถาบัน องค=ความรู6และ ทรัพยากรทางทรัพยากรทางธรรมชาติ ในพื้นที่จึงถือเปนจุดเชื่อมโยงองคาพยพตCาง ๆ จากภายนอก ซึ่ง ประชาชนในพื้นที่ต6องรCวมกันทำงานของชุมชนทั้ง 3 พื้นที่ (2) การเพิ่มมูลค4าทางเศรษฐกิจ การพัฒนา ศักยภาพของชุมชนทั้ง 3 พื้นที่เกิดขึ้นจากการที่เราสามารถนำทุนทางสังคม โดยให6คนในพื้นที่รับรู6และเข6าใจ การมีอยูCของทุนทางสังคมรูปแบบตCาง ๆ อยCางกว6างขวาง และสามารถเข6าไปเปนสCวนหนึ่งของกลไกขับเคลื่อน ของชุมชน พร6อมทั้งขยายการเชื่อมโยงการเปนเครือขCายการทำงานกับพื้นที่อื่น ๆ เชCน จังหวัดใกล6เคียง หรือ ประเด็นที่ดำเนินการประเด็นเดียวกัน และผู6ที่มีสCวนเกี่ยวข6องกับกลุCมประชาสังคมเหลCานี้จะต6องนำทุนทาง สังคมมาใช6อยCางฉลาด บริหารทรัพยากรที่มีอยูCให6เกิดประโยชน=สูงสุด มีคุณคCา ดูแล รักษาทุนทางสังคมที่สำคัญ ของทั้ง 3 พื้นที่ ซึ่งมาจากชุมชนให6คงอยูC ชุมชนเห็นพ6องต6องกัน สามารถตอบสนองความต6องการของชุมชนและ แก6ปgญหาชุมชนได6ตามเป_าหมายที่ชุนชนต6องการ ดังนั้นทุนทางสังคมของชุมชน 3 พื้นที่อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร=ธานีหัวใจสำคัญอยูCที่การใช6ทุน ทางสังคมที่มีอยูCเดิมเปนกลไกลสร6างให6ชุมชนมีการเคลื่อนไหวที่เข6มแข็งและสCงผลตCอการทำใช6ชุมชนอยูCได6อยCาง ยั่งยืนภายใต6การจัดการทCองเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร6างสรรค= และการพัฒนาทุนทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการที่ ประชาชนคนธรรมดา กลุCมคนที่เปนชาวบ6านธรรมดา สามัญชนคนธรรมดา สามารถสร6างกลุCมที่มีสCวนรCวมและ แสดงออกถึงระบบของการจัดการโดยผCานกระบวนการเรียนรู6ของภูมิปgญญา วัฒนธรรม ความเชื่อ ความ ศรัทธา ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูCเดิม และการยกระดับความสำนึกของประชาชน ซึ่งถือเปนการสร6างชุมชนที่มี ทุนทางสังคมที่เข6มแข็งและยั่งยืนนั้นเอง แตCถ6าเมื่อไหรCทุนทางสังคมล6มสลาย ชุมชนไมCเข6มแข็ง ทำงานขาด การบูรณาการ ชุมชนอาจล6มสลายตามไปด6วย การมีมูลคCาทางเศรษฐกิจไมCวCารูปแบบใดก็จะไมCเกิดขึ้นด6วย เชCนเดียวกันแตCถ6าทุนทางสังคมมีการพัฒนาตCอยอดอยCางตCอเนื่อง ใช6การพัฒนาชุมชนท6องถิ่นเปนฐานที่สำคัญ การเพิ่มมูลคCา พัฒนาศักยภาพ ชุมชนก็จะเข6มแข็งพร6อมเปนกลไกที่ชCวยสร6างกระบวนการเรียนรู6เพื่อขับเคลื่อน การมีสCวนรCวมในกระบวนการของชุมชนท6องถิ่นเพื่อปรับเปลี่ยนจากประชาชนธรรมดา ๆ มาเป`นประชาชน ผู6กระตือรือร6น ความผูกพัน และสำนึกรับผิดชอบตCอสังคมเพื่อนำไปสูCการบูรณาการชุมชนให6เกิดความยั่งยืน

Организации :
สำนักงานสถิติแห่งชาติ
Последно ажурирани мета податоци :
Декември 17, 2021
Податоци и ресурси

{{cur_meta.name}} {{cur_meta.download_stat}} downloads

Одете до ресурс

All data records
Data number To
Data source cannot be displayed.
Извор : ชุดข้อมูล"ทุนทางสังคม"กับการจัดการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาพื้นที่เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และธรรมชาติ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ
Опис
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล
Последно ажурирани податоци
Формат
Големина на датотека
File Validation Valid data
File Validation Valid data
Речник на податоци
Колона Тип Ознака Опис
{{field.id}} {{field.type}} {{field.info.label}} {{field.info.notes}}
Дополнителни информации
English Title https-drive-google-com-drive-folders-1nyrglgqyezbvhqw_5kwo6ljqwyn-4khg
Групи การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 050102
องค์ประกอบ 050102V04
ปัจจัย 050102F0402
Sustainable Development Goals SDG1501
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาทรัพยากรมนุษยและคุณภาพชีวิตเพื่อให้ความสมบูรณ์สร้างสังคมน่าอยู่ที่เน้นประชาชนมีสุขภาวะด้วยการพัฒนาการมีส่วนร่วมและความสามารถในการพึ่งพาตนเองของชุมชนได้
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย 1. ได้องค์ความรู็ของทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชน 2. มีฐานข้อมูลองค์ความรู้ของทุนทางสังคมของพื้นที่ 3. ได้นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาการเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนเชิงสร้างสรรค์ 4. เกิดความร่วมมือของภาคีเครือข่ายชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคท่องถิ่น ภาคเอกชนและภาคประชาชน
พื้นที่เป้าหมาย อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Видливост Јавно
Лиценца Open Government
นักวิจัย ดร.ศิริพร เพ็งจันทร์ อาจารย์ปทิดา โมราศิลป์
อีเมลนักวิจัย pookubsp11@gmail.com
Состојба active
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.