Text Size Languages
การพัฒนาตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

โครงการวิจัย “การพัฒนาตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจ ที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)” (Research project development of success indicators of CSR projects in Thai business sectors that contribute to Sustainable Development Goals (SDGs)) ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวนเงิน 500,000 บาท ซึ่งดำเนินการ วิจัยตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้มุ่งดำเนินการต่อเนื่องจาก โครงการวิจัย “การพัฒนาตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุน การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)” โครงการเดิม (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) ด้วยการทบทวน และขยายผลการใช้ตัวชี้วัดโดยประเมินระดับความสำเร็จของโครงการซีเอสอาร์ในกลุ่มนำร่อง ตลอดจนเผยแพร่ตัวชี้วัดในมุมกว้าง เพื่อให้การพัฒนาชุดตัวชี้วัดมีความชัดเจนและแม่นยำในการชี้วัดผลลัพธ์ ทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงการซีเอสอาร์ที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย (1) องค์กรที่มีการดำเนินโครงการซีเอสอาร์ทั้งบริษัทขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ใน 8 อุตสาหกรรม จำนวน 10 องค์กร (2) ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดและส่วนกลางที่ได้รับมอบหมายรับผิดชอบงานด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม ของภาคธุรกิจ (CSR) และ (3) ประธานศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด (ภาคเอกชน) โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสม (Mixed Method Research) คือการวิจัยแบบคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยแบบปริมาณ (Quantitative Research) การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วย กระบวนการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary research) สำหรับการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ตัวชี้วัดและการทบทวนเอกสารระดับทุติยภูมิ(Secondary document) ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม การสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) สำหรับการทบทวนองค์กร ผู้ดำเนินการโครงการซีเอสอาร์ที่นำตัวชี้วัดไปใช้และการเผยแพร่คู่มือการใช้ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินโครงการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของกลุ่มนำร่อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) สำหรับจัดทำโครงการเผยแพร่คู่มือการใช้ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) พร้อมกับการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ(CSR) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสามารถเพิ่มโอกาสที่จะส่งเสริมให้เกิดการยอมรับทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการนำ ตัวชี้วัดมาใช้วัดระดับความสำเร็จของโครงการซีเอสอาร์ในวงกว้างมากยิ่งขึ้น และการสังเกต (Observation) ได้แก่การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant observation) และการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม (Participant observation) ในการสังเกตเกี่ยวกับการดำเนินโครงการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม ของกลุ่มนำร่อง และระหว่างการเผยแพร่คู่มือการใช้ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)

Organizations :
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Metadata last updated :
November 23, 2023
Data and Resources

Openness


{{cur_meta.name}} {{cur_meta.download_stat}} downloads

Go to resource

Data API Visualization Embed {{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1 Fullscreen
All data records
Data number To
Data source cannot be displayed.
Source : ชุดข้อมูลการพัฒนาตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Description
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล
Data last updated
Format
File Size
File Validation Valid data
File Validation Valid data
Data Dictionary
Column Type Label Description
{{field.id}} {{field.type}} {{field.info.label}} {{field.info.notes}}
Additional Info
English Title Research project development of success indicators of CSR projects in Thai business sectors that contribute to Sustainable Development Goals
Groups การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
Tags เขตเศรษฐกิจนวัตกรรม
เป้าหมายระดับแผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 230101
องค์ประกอบ 230101V01
ปัจจัย 230101F0101
เป้าหมายระดับประเด็นของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 230002
Sustainable Development Goals SDG090B SDG090B SDG090B SDG090B SDG090B SDG090B SDG090B
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายการพัฒนาประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท) - สัดส่วนงบประมาณภายในประเทศที่จัดสรรจากภาษีภายในประเทศ - จำนวนประเทศที่ยอมรับและดำเนินการตามกฎเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุนของประเทศกำลังพัฒนา รวมทั้งประเทศพัฒนาน้อยที่สุด - จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตบรอดแบนด์ ประจำที่ต่อผู้อยู่อาศัย 100 คน จำแนกตามความเร็ว - จำนวนประเทศที่รายงานความก้าวหน้าตามกรอบการติดตามประสิทธิผลของการพัฒนาที่มีผู้มีส่วนได้เสีย ที่สนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน - จำนวนเงินดอลลาร์สหรัฐที่มีภาระผูกพันให้ใช้ในโครงการความร่วมมือภาครัฐ-เอกชนด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ผลสัมฤทธิ์ของงานต่อเป้าหมายของงานวิจัย - เกิดการยอมรับในการนำตัวชี้วัดมาใช้วัดระดับความสำเร็จของโครงการซีเอสอาร์ของภาคเอกชนในกลุ่มบริษัทนำร่อง - มีการนำตัวชี้วัด SDGs 17 เป้าหมายไปกำหนดกลยุทธ์ (Strategy) การพัฒนา/จัดทำโครงการ/กิจกรรมของบริษัทเพื่อยกระดับสู่ความยั่งยืน - เพิ่มโอกาสในการส่งเสริมให้เกิดการยอมรับทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการนำตัวชี้วัดมาใช้วัดระดับความสำเร็จของโครงการซีเอสอาร์ในวงกว้างมากยิ่งขึ้น - แผนการดำเนินงานด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 - การเตรียมความพร้อมสำหรับการคัดเลือกองค์กรที่มีผลงานด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจระดับจังหวัดซึ่งได้กำหนดจัดโครงการส่งเสริมและเชิดชูเกียรติเครือข่ายความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 - โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) เป็นประจำทุกปี โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการนำคู่มือการใช้ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการทำโครงการซีเอสอาร์ของภาคธุรกิจที่มีส่วนสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)” ไปใช้ในการประเมินโครงการ/กิจกรรมด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
พื้นที่เป้าหมาย หมู่บ้านวิภาวดีรังสิต ตำบลสนามบิน อำเภอดอนเมือง จังหวัดกรุงเทพมหานคร
Visibility Public
License Open Government
นักวิจัย นางอังคณา หอมหวล
อีเมลนักวิจัย gorsorkor.03@dsdw.go.th
State active
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
รายงานสถานการณ์วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปี 2565 8 recent views
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จำแนกตามการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ 2 recent views
ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จำแนกตามการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2561 - 2563
สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แผนด้าน ววน.ของประเทศ พ.ศ.2566-2570 77 recent views
สกสว. ได้จัดทำแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566-2570 (แผนด้าน ววน. ของประเทศ พ.ศ.2566-2570) ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ 25 แผนงาน 14 แผนงานสำคัญ...
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โครงการวิจัยกลยุทธ์การจัดการชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ภาคใต้ 3 recent views
-
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC)
เลขที่ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
โทร : 0-2280-4085 ต่อ 6221-6241
โทรสาร : 02-280-6384, 02-628-2858
E-mail : open-d@nesdc.go.th
All rights reserved 2016 - NESDC. Powered By NECTEC.