เปิดเส้นทางเดินป่า “เทรลคลองปลากั้ง” ฉลองความสัมพันธ์ 60 ปี ไทย – แคนาดา
Data source cannot be displayed.
Source : ชุดข้อมูลเปิดเส้นทางเดินป่า “เทรลคลองปลากั้ง” ฉลองความสัมพันธ์ 60 ปี ไทย – แคนาดา โดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
Description | |
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล | |
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล | |
Data last updated | |
Format | |
File Size | |
File Validation | |
File Validation |
Data Dictionary
Column | Type | Label | Description |
---|---|---|---|
{{field.id}} | {{field.type}} | {{field.info.label}} | {{field.info.notes}} |
Additional Info
English Title | Klong Plakang Trail |
หมุดหมายที่เกี่ยวข้องหลัก | P1302 - ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน |
เป้าหมายระดับหมุดหมาย | P130201 - การเปลี่ยนการท่องเที่ยวไทยเป็นการท่องเที่ยวคุณภาพสูงที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมและบริการที่มีศักยภาพอื่น |
Groups | การท่องเที่ยว |
Tags | การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลวังน้ำเขียว อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา |
หน่วยงานดำเนินการและภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง | อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ ชุมชนที่อยู่รายรอบพื้นที่อุทยานแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีที่เป็นมหาวิทยาลัยในท้องถิ่น ผ่านกองทุนแคนาดา CFLI |
วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน | เพื่อพัฒนาเส้นทางเดินป่าตามธรรมชาติ ที่ส่งเสริมการศึกษาและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และเอื้อประโยชน์ต่อชุมชนรอบอุทยานแห่งชาติ และสร้างสังคมแห่งความยั่งยืน |
รายละเอียดการดำเนินงาน | ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2566 สถานทูตแคนาดาร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.), อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และชุมชนคลองปลากั้ง ได้เปิดตัวเส้นทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติ "เทรลคลองปลากั้งมิตรภาพไทย-แคนาดา" ในอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา เพื่อฉลองความสัมพันธ์ 60 ปี ระหว่างประเทศไทยและแคนาดา โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ยั่งยืน โครงการนี้มีการพัฒนาเส้นทางเดินป่าระยะทาง 2 กิโลเมตร และสร้างแอปพลิเคชัน “Klong Plakang Trail” ซึ่งเป็นแอปแรกของประเทศไทยที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ธรรมชาติและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น พืชพันธุ์ไม้ สัตว์ป่า และสภาพแวดล้อมในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ นอกจากนี้ยังมีการอบรมชุมชนและมัคคุเทศก์ท้องถิ่นเพื่อสร้างนักสื่อความหมายธรรมชาติและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เส้นทางนี้เป็นการร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการศึกษา การอนุรักษ์ และการสร้างรายได้ให้กับชุมชนรอบอุทยานแห่งชาติ รวมทั้งยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทย |
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ | [u'\u0e1e\u0e37\u0e49\u0e19\u0e17\u0e35\u0e48\u0e40\u0e1b\u0e49\u0e32\u0e2b\u0e21\u0e32\u0e22\u0e21\u0e35\u0e04\u0e27\u0e32\u0e21\u0e1e\u0e23\u0e49\u0e2d\u0e21\u0e17\u0e32\u0e07\u0e01\u0e32\u0e22\u0e20\u0e32\u0e1e \u0e40\u0e2b\u0e21\u0e32\u0e30\u0e2a\u0e21\u0e01\u0e31\u0e1a\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23', u'\u0e1c\u0e39\u0e49\u0e21\u0e35\u0e2a\u0e48\u0e27\u0e19\u0e44\u0e14\u0e49\u0e40\u0e2a\u0e35\u0e22\u0e21\u0e35\u0e2a\u0e48\u0e27\u0e19\u0e23\u0e48\u0e27\u0e21\u0e14\u0e33\u0e40\u0e19\u0e34\u0e19\u0e42\u0e04\u0e23\u0e07\u0e01\u0e32\u0e23', u'\u0e21\u0e35\u0e40\u0e17\u0e04\u0e42\u0e19\u0e42\u0e25\u0e22\u0e35 \u0e19\u0e27\u0e31\u0e15\u0e01\u0e23\u0e23\u0e21 \u0e2b\u0e23\u0e37\u0e2d\u0e10\u0e32\u0e19\u0e02\u0e49\u0e2d\u0e21\u0e39\u0e25\u0e17\u0e35\u0e48\u0e2a\u0e32\u0e21\u0e32\u0e23\u0e16\u0e2a\u0e19\u0e31\u0e1a\u0e2a\u0e19\u0e38\u0e19\u0e01\u0e32\u0e23\u0e14\u0e33\u0e40\u0e19\u0e34\u0e19\u0e07\u0e32\u0e19'] |
Visibility | Public |
ผู้จัดทำข้อมูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี |
อีเมลผู้จัดทำข้อมูล | sut@sut.ac.th |
State | active |
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” ภายใต้โครงการ ทำ”หันคา”ให้มีรอยยิ้ม โดยน้อมนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้และสร้างความร่วมมือของ ๗...
กรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทยได้จัดทำโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งหมู่บ้านยั่งยืน (Sustainable Village) เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา...
กรมการปกครอง
จากการที่อำเภอได้ดำเนินการ การขับเคลื่อนการบูรณาการพัฒนาระดับพื้นที่ : 1 อำเภอ 1 โครงการสำคัญ (Flagship Project) (ดำเนินการขับเคลื่อนต่อเนื่องในรอบปีงบประมาณ) (งวดที่ 2...
กรมการปกครอง
อำเภอสังคม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดหนองคาย ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่คงความเป็นเอกลักษณ์...
กรมการปกครอง